Page 92 - คู่มือปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุตจริตฯ
P. 92
คู่มือการปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
| 81
(2) จ าเลยซึ่งถูกคุมขังอุทธรณ์
ให้เจ้าพนักงานศาลตรวจสอบอุทธรณ์ หมายขังหรือหมายจ าคุก แล้วรายงาน
ศาลเพื่อมีค าสั่ง กรณีจ าเลยถูกขังที่ศาลอื่นให้เจ้าพนักงานศาลขอส าเนาหมายขัง หรือหมาย
จ าคุกมาประกอบรายงาน
สั่งในอุทธรณ์ว่า
“จ าเลยถูกคุมขังตาม............. ยื่นอุทธรณ์ รับอุทธรณ์ ส าเนาให้อีกฝ่ายแก้”
๔.๓ การอุทธรณ์ค าสั่งไม่รับอุทธรณ์
ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องตรวจอุทธรณ์ว่า สิทธิของผู้อุทธรณ์ต้องห้ามตาม ป.วิ.อ
ป.วิ.พ. หรือ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแขวงฯ แล้วแต่กรณีหรือไม่ หากเห็นว่าสิทธิของผู้อุทธรณ์
ต้องห้าม หรือการยื่นอุทธรณ์มิได้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กฎหมายก าหนดไว้ เช่น ยื่นอุทธรณ์เกิน
ก าหนดเวลาตามกฎหมาย ศาลชั้นต้นย่อมมีค าสั่งไม่รับอุทธรณ์ ในกรณีเช่นนี้ ผู้อุทธรณ์มีสิทธิยื่น
ค าร้องอุทธรณ์ค าสั่งได้ เมื่อได้รับอุทธรณ์เช่นว่านั้นแล้วให้ศาลสั่งในค าร้องว่า
“รับค าร้องอุทธรณ์ค าสั่ง ส าเนาให้อีกฝ่ายเพื่อทราบ ส่งค าร้องพร้อมส านวนไป
ศาลอุทธรณ์แผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ เพื่อพิจารณาโดยเร็ว”
ข้อสังเกต
๑. การที่ศาลชั้นต้นจะสั่งไม่รับอุทธรณ์ได้นี้ต้องมิใช่เป็นกรณีที่จ าเลยซึ่งมิได้ถูกคุมขัง
ยื่นอุทธรณ์โดยมิได้แสดงตน หากเป็นกรณีดังกล่าวต้องส่งศาลอุทธรณ์แผนกคดีทุจริตฯ สั่ง
๒. การยื่นค าร้องอุทธรณ์ค าสั่งไม่รับอุทธรณ์ จ าเลยไม่ต้องแสดงตน
๕. การส่งส านวนไปศาลอุทธรณ์ฯ กรณีที่ไม่มีการอุทธรณ์ค าพิพากษา
คดีที่ศาลอาญาคดีทุจริตฯ พิพากษาลงโทษประหารชีวิตหรือจ าคุกตลอดชีวิต
หากไม่มีการอุทธรณ์ค าพิพากษา ศาลมีหน้าที่ต้องส่งส านวนและค าพิพากษาไปยังศาลอุทธรณ์
แผนกคดีทุจริตฯ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๔๕ (พ.ร.บ. วิ. ทุจริตฯ มาตรา ๔๑)