Page 90 - คู่มือปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุตจริตฯ
P. 90
คู่มือการปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
| 79
กรณีมีค าสั่งอนุญาต ศาลมีอ านาจสั่งอนุญาตได้ โดยอาจให้เหตุผลใน
ค าสั่งในค าร้องว่า
“พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า โทษที่จ าเลยได้รับไม่สูงนัก จ าเลยมีที่อยู่เป็น
หลักแหล่งที่สามารถติดต่อได้ ยังไม่มีพฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าจ าเลยน่าจะหลบหนี เหตุผล
ที่ไม่อาจมาศาลได้ตามค าร้องมีหลักฐานประกอบ เชื่อว่าไม่อาจมาแสดงตนได้จริง อนุญาตให้
จ าเลยมาแสดงตนต่อเจ้าพนักงานศาลในวันที่............................................(ควรก าหนด
ระยะเวลาเท่าที่ล่วงพ้นเหตุแห่งการไม่อาจแสดงตนได้)”
และสั่งในอุทธรณ์จ าเลยว่า
“รอไว้สั่งเมื่อจ าเลยได้มาแสดงตนต่อเจ้าพนักงานศาลแล้ว”
เมื่อครบก าหนดเวลาให้เจ้าพนักงานศาลรายงานต่อศาลว่าจ าเลยได้มา
แสดงตนภายในเวลาที่ศาลก าหนดหรือไม่ หากมาแสดงตนให้เจ้าพนักงานศาล ถ่ายรูปและ
จัดเก็บลายพิมพ์นิ้วมือจ าเลยอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบเปรียบเทียบกับภาพถ่ายและลายพิมพ์
นิ้วมือที่จัดเก็บไว้ในส านวนและฐานข้อมูลของศาลว่าถูกต้องตรงกันหรือไม่ แล้วท ารายงานเสนอ
ต่อศาลเพื่อมีค าสั่ง
หากเป็นอุทธรณ์ที่ชอบ ให้ศาลมีค าสั่งในอุทธรณ์เพิ่มเติมว่า
“จ าเลยมาแสดงตนภายในระยะเวลาที่ศาลก าหนด รับอุทธรณ์
ส าเนาให้อีกฝ่ายแก้”
แต่หากจ าเลยไม่มาแสดงตนภายในระยะเวลาที่ศาลก าหนด เมื่อ
เจ้าพนักงานศาลรายงานถึงการไม่มาแสดงตนของจ าเลย เป็นอ านาจของศาลอุทธรณ์
แผนกคดีทุจริตฯ ที่จะมีค าสั่งไม่รับอุทธรณ์ (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๖) ให้ศาลมี
ค าสั่งในอุทธรณ์จ าเลยว่า
“จ าเลยซึ่งมิได้ถูกคุมขังยื่นอุทธรณ์ แต่ไม่มาแสดงตนต่อเจ้าพนักงาน
ศาลภายในระยะเวลาที่ศาลก าหนด ส่งอุทธรณ์พร้อมส านวน รวมทั้งรายงานเจ้าพนักงานศาล
ไปยังศาลอุทธรณ์แผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบเพื่อพิจารณาสั่งต่อไป”