Page 95 - คู่มือปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุตจริตฯ
P. 95

คู่มือการปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
                                                                                                        | 84



                                   “ค าร้องไม่ได้แสดงเหตุผลที่ศาลฎีกาควรรับฎีกาไว้พิจารณา ให้ผู้ฎีกาแก้ไข

                     ค าร้องให้ถูกต้องภายใน .... วัน เมื่อครบก าหนดแล้วให้เจ้าพนักงานศาลรายงานให้ทราบเพื่อมี

                     ค าสั่งต่อไป”


                                เมื่อเจ้าพนักงานศาลรายงานว่า ผู้ฎีกาไม่แก้ไขค าร้องหรือมีการแก้ไขค าร้อง

                     เข้ามาแล้ว ให้มีค าสั่งว่า

                                   “ส่งค าร้องพร้อมฎีกาไปศาลฎีกาโดยเร็ว ส าเนาให้อีกฝ่ายเพื่อทราบ”


                                ส าหรับการยื่นค าร้องขออนุญาตฎีกากรณีที่จ าเลยต้องค าพิพากษาให้ประหารชีวิต

                     ศาลต้องมีค าสั่งให้ส่งค าร้องพร้อมฎีกาโดยทางไปรษณีย์ด่วนที่สุดหรือวิธีการอื่นที่ได้ผล

                     ไม่ช้ากว่านั้น (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๓๒ วรรคสาม) เช่น สั่งในค าร้องว่า

                                   “ส่งค าร้องและฎีกาพร้อมส านวนคดี ไปยังศาลฎีกาโดยทางไปรษณีย์ด่วนที่สุด

                     ส าเนาให้อีกฝ่ายเพื่อทราบ”


                                การส่งค าร้องและฎีกาพร้อมส านวนคดีไปยังศาลฎีกาไม่ต้องรอค าคัดค้านของ

                     คู่ความอีกฝ่าย แต่หากภายหลังมีค าคัดค้านก็ให้มีค าสั่งให้ส่งค าคัดค้านนั้นไปศาลฎีกา

                     (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๓๒) โดยสั่งว่า

                                   “ส่งศาลฎีกาเพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัย”



                                ข้อสังเกต

                                ๑. ตามข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๓๒ วรรคหนึ่ง เมื่อศาลชั้นต้นได้รับ

                     ค าร้องขออนุญาตฎีกาและฎีกาแล้ว ให้ศาลชั้นต้นรีบส่งค าร้องขออนุญาตฎีกาพร้อมฎีกาและ

                     ส านวนความไปศาลฎีกาโดยเร็ว จึงเป็นปัญหาว่าในกรณีที่มีการยื่นค าร้องขออนุญาตฎีกาและ


                     ฎีกาเมื่อล่วงพ้นระยะเวลาที่กฎหมายก าหนด ศาลชั้นต้นจะมีอ านาจสั่งไม่รับค าร้องและฎีกา

                     ได้หรือไม่

                                ๒. กรณีที่ศาลอาญาคดีทุจริตฯ พิพากษายกฟ้องในชั้นตรวจฟ้อง และศาลอุทธรณ์

                     พิพากษายืน ในชั้นฎีกาไม่จ าต้องส าเนาให้จ าเลยเพื่อทราบ
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100