Page 94 - คู่มือปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุตจริตฯ
P. 94
คู่มือการปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
| 83
ส่วนที่ 4 ฎีกา
ค าพิพากษาหรือค าสั่งศาลอุทธรณ์แผนกคดีทุจริตฯ เป็นที่สุด คู่ความไม่อาจฎีกาได้
เว้นแต่จะได้รับอนุญาตให้ฎีกา (พ.ร.บ. วิ. ทุจริตฯ มาตรา ๔๓)
๑. ค าร้องขออนุญาตฎีกา
ค าร้องต้องแสดงเหตุผลที่ศาลฎีกาควรรับไว้พิจารณา กับทั้งต้องแสดงถึงปัญหา
ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่ขออนุญาตฎีกา และปัญหาที่ขออนุญาตฎีกาเป็นปัญหาส าคัญ
ตาม พ.ร.บ. วิ. ทุจริตฯ มาตรา ๔๖ และข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๓๕ (พ.ร.บ. วิ. ทุจริตฯ
มาตรา ๔๔ และข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๘)
ในกรณีที่อัยการสูงสุดลงลายมือชื่อรับรองในฎีกาของพนักงานอัยการว่ามีเหตุอันควร
ที่ศาลฎีกาจะได้วินิจฉัย ถือว่าเป็นปัญหาส าคัญที่ศาลฎีกาควรวินิจฉัย (พ.ร.บ. วิ. ทุจริตฯ
มาตรา ๔๖ วรรคสาม) โดยในการนี้พนักงานอัยการเพียงบรรยายในค าร้องขออนุญาตฎีกา
แสดงให้เห็นว่าอัยการสูงสุดได้ลงลายมือชื่อรับรองในฎีกาของพนักงานอัยการว่ามีเหตุอันควรที่
ศาลฎีกาจะได้วินิจฉัยเท่านั้น (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๙)
๒. การยื่นค าร้องและก าหนดเวลายื่นค าร้อง
คู่ความที่ประสงค์จะฎีกาค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลอุทธรณ์ต้องยื่นค าร้องแสดง
เหตุที่ศาลฎีกาควรรับไว้พิจารณาพร้อมกับฎีกาต่อศาลอาญาคดีทุจริตฯ ที่ได้ยื่นฟ้องไว้ภายใน
ก าหนด ๑ เดือน นับแต่วันที่ได้อ่านหรือถือว่าได้อ่านค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลอุทธรณ์
๓. การตรวจสั่งค าร้องของศาล
ศาลอาญาคดีทุจริตฯ มีอ านาจตรวจค าร้องและมีค าสั่งตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๕
ประกอบ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘ หากค าร้องไม่ถูกต้องศาลต้องมีค าสั่งให้ผู้ร้องแก้ไขค าร้อง
ให้ถูกต้อง เช่น สั่งในค าร้องว่า