Page 71 - Liver Diseases in Children
P. 71

การตรวจทางจุลพยาธิวิทยาของตับในเด็ก  61




              pthaigastro.org
             จุลพยำธิวิทยำของโรคตับในเด็ก                  มาก โดยพบน�าดีสะสมในเซลล์ตับและ canaliculi
                                                                       ้
             โรคท่อน�้ำดีตีบตัน (biliary atresia)          โดยเริ่มจากบริเวณรอบ central vein ลักษณะอื่นที่
                                                           อาจพบได้ เช่น multinucleated hepatocytes,
                                                     �
                                                     ้
                  ลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาที่พบในโรคท่อนาด ี  extramedullary hematopoiesis, hepatocellular
                                         ี
             ตีบตัน  คือ  พบลักษณะการเปล่ยนแปลงในตับที  ่  ballooning และ apoptotic bodies อาจพบการ
                           ั
             บ่งบอกการอุดก้นของทางเดินน�าดี  มักพบพยาธ ิ   เปลี่ยนแปลงของ portal tracts ไม่ชัดเจนในระยะ
                                         ้
                   ี
                                      ึ
             สภาพท่บริเวณ portal tracts ซ่งประกอบด้วย portal   แรกของโรค ถ้ายังไม่สามารถวินิจฉัยโรคท่อน�าด  ี
                                                                                                   ้
             tracts ขยายจากการบวม มี ductular reaction และ  ตีบตันจากผลช้นเน้อตับที่ตรวจในช่วงอายุ 6 สัปดาห์แรก
                                                                       ิ
                                                                          ื
             พบ bile ductules จ�านวนมาก แต่การอักเสบมีความ  แต่ลักษณะทางคลินิกยังเข้าได้กับโรคนี้ ควรเจาะเน้อ
                                                                                                    ื
             รุนแรงน้อย พบ bile plugs ในท่อน�้าดี และ bile   ตับตรวจซ�้าเมื่อผู้ป่วยอายุประมาณ 6 สัปดาห์ 4
             ductules (รูปที่ 4.11) พบท่อนาดีขนาดเล็ก (interlobular      มีการแบ่งชนิดของโรคท่อน�าดีตีบตันหลาย
                                    ้
                                    �
                                                                                        ้
             bile ducts) ในระยะเริ่มต้นของโรค และจะหายไป   แบบ แบบที่ใช้กันมากที่สุด คือ แบ่งตาม Japanese
             ในระยะหลังของโรค พบ hepatic arterioles มีผนัง  Biliary Atresia Registry โดยแบ่งเป็น 3 ชนิด ได้แก่

                                                   ิ
             หนาและจ�านวนมากขึ้น มีพังผืดเพ่มข้น โดยเร่มจาก   ชนิดที่ 1 มีการตีบตันที่ common bile duct ชนิดที่
                                         ิ
                                            ึ
             portal fibrosis, periportal fibrosis, bridging    2 มีการตีบตันที่ hepatic ducts และชนิดที่ 3 มีการ
             fibrosis และกลายเป็นตับแข็ง (cirrhosis) ตาม   ตีบตันที่ porta hepatis ซึ่งชนิดที่ 3 เป็นชนิดที่พบ

              �
                                                                                         5
             ลาดับ  ในส่วนของ hepatic lobules มี cholestasis  บ่อยที่สุด พบได้ประมาณร้อยละ 90






























                                  ื
             รูปท 4.10 โรคตับอักเสบเร้อรังจากไวรัสตับอักเสบบี พบเซลล์ตับมีลักษณะ ground glass (ลูกศร) (ดูรูปสีหน้า 349)
                ี
                ่
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76