Page 49 - แผนการจัดการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ ม.1 (new)
P. 49

ขั้นที่ 1  ขั้นน า
                                                          ครูให้นักเรียนดูภาพผลงานทัศนศิลป์ แล้วให้นักเรียนช่วยกันจ าแนกว่า ภาพใดเป็น
                                                        ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย ภาพใดเป็นผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากล
                                                        พร้อมอธิบายประกอบ
                                                        ขั้นที่ 2  ขั้นสอน

                                                        1. สมาชิกแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกนศึกษาความรู้เรื่อง
                                                                                                       ั
                                                          เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล จากหนังสือ
      แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาศิลปะ 1 (ทัศนศิลป์)     เรียน และห้องสมุด แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในแบบบันทึกการอ่าน
            ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหัสวิชา ศ21101       2. สมาชิกแต่ละคนผลัดกันน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาอธิบายให้เพื่อนในกลุ่มฟัง ผลัด
                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10
    เรื่องทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล    เวลา 3 ชั่วโมง   กันซักถามข้อสงสัยและอธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน

   แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความแตกต่างของงานทศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล   3. นักเรียนแต่ละคนท าใบงานที่ 10.3 เรื่อง การเปรียบเทียบความแตกต่างของงาน
                              ั

    เวลา 1 ชั่วโมง           ครูผู้สอน นายวสันต์ แสงรัตนกูล  ทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล เมื่อท าเสร็จแล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
                                                          เรียบร้อย  แล้วน าส่งครูตรวจ
                                                        4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ใน
                                                          วัฒนธรรมไทยและสากลในสมัยต่างๆ จากนั้นร่วมกันสรุปประเด็นส าคัญ

   มาตรฐาน ศ 1.2                                        ขั้นที่ 3  ขั้นสรุป
   เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ  1. ครูตรวจสอบผลนักเรียนจากการท าใบงานที่ 10.3

   วัฒนธรรม เห็นคุณค่าทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม    2. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันท าหนังสือเล่มเล็ก ทัศนศิลป์ในวัฒนธรรม
   ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล                 ไทยและสากล โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามที่ก าหนด ดังนี้

                                                          1) การอธิบายผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย
                                                          2) การอธิบายผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากล
                                                          3) การเปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล

                                                        3. นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 10
   ตัวชี้วัดที่ ม.1/3

   เปรียบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งาน
   ทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและสากล


                                                        1)  หนังสือเรียน ทัศนศิลป์ ม.1
                                                        2)  บัตรภาพ
                                                        3)  ใบงานที่ 10.3 เรื่อง การเปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ใน
   เปรียบเทียบความแตกต่างของทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและ      วัฒนธรรมไทยและสากล
   สากลได้                                                แหล่งการเรียนรู้


                                                        -  ตรวจใบงานที่ 10.3 เรื่อง การเปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล
                                                        -  ตรวจแบบบันทึกการอ่าน
                                                        -  ประเมินการน าเสนอผลงาน
                                                        -  ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 10
   ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากลมีความสัมพันธ์     -  ตรวจหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง ทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล
   เกี่ยวข้องกันหลายปัจจัย ซึ่งท าให้เราสามารถเปรียบเทียบความ

   แตกต่างของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ระหว่างสอง

   วัฒนธรรมได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม




   ความสามารถในการสื่อสาร
   ความสามารถในการคิด

   - ทักษะการเปรียบเทียบ
   ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
   44   45   46   47   48   49   50