Page 44 - แผนการจัดการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ ม.1 (new)
P. 44
ขั้นที่ 1 ขั้นน า
ครูให้นักเรียนดูภาพผลงานทัศนศิลป์ในแต่ละภูมิภาค แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า แต่ละภาพเป็น
ผลงานทัศนศิลป์ของภาคใด และนักเรียนทราบได้อย่างไร โดยครูคอยกระตุ้นให้นักเรียนทุกคน มีส่วน
ร่วมในการตอบค าถาม
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม ก าหนดหมายเลขประจ าตัว เป็นหมายเลข 1-4 ตามล าดับ เรียกกลุ่มนี้ว่า
กลุ่มบ้าน แล้วให้นักเรียนที่มีหมายเลขเดียวกัน ไปรวมกันเป็นกลุ่มใหม่ เรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่ม
ผู้เชี่ยวชาญ
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาศิลปะ 1 (ทัศนศิลป์) 2. สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง งานทัศนศิลป์ ในแต่ละภูมิภาค จากหนังสือเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหัสวิชา ศ21101 และห้องสมุด ตามประเด็น ที่ก าหนดให้และท าใบงาน ดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 - กลุ่มหมายเลข 1 ศึกษาความรู้เรื่อง งานทัศนศิลป์ในภาคเหนือ และท าใบงานที่ 9.3 เรื่อง ลักษณะ
เรื่องทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น เวลา 3 ชั่วโมง รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคเหนือ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องงานทัศนศิลป์ในแต่ละภูมิภาค - กลุ่มหมายเลข 2 ศึกษาความรู้เรื่อง งานทัศนศิลป์ในภาคกลาง และท าใบงานที่ 9.4 เรื่อง ลักษณะ
เวลา 1 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวสันต์ แสงรัตนกูล รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคกลาง
- กลุ่มหมายเลข 3 ศึกษาความรู้เรื่อง งานทัศนศิลป์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) และท า
ใบงานที่ 9.5 เรื่อง ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- กลุ่มหมายเลข 4 ศึกษาความรู้เรื่อง งานทัศนศิลป์ในภาคใต้ และท าใบงานที่ 9.6 เรื่อง ลักษณะ
รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคใต้
มาตรฐาน ศ 1.2 3. นักเรียนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลับเข้าสู่กลุ่มบ้าน ผลัดกันน าความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการท าใบงานมา
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ เล่าให้เพื่อน ในกลุ่มบ้านฟัง ผลัดกันซักถามข้อสงสัยและอธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน
วัฒนธรรม เห็นคุณค่าทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม 4. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ใน แต่ละภูมิภาคให้นักเรียนฟังเพิ่มเติม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจชัดเจนมากยิ่งขึ้น
5. ครูเฉลยค าตอบในใบงานที่ 9.3-9.6 ให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบตามที่ครูเฉลย
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง งานทัศนศิลป์ในแต่ละภูมิภาค
2. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด
ตัวชี้วัดที่ ม.1/2 นักเรียนมีวิธีการจ าแนกผลงานทัศนศิลป์ของ แต่ละภูมิภาคอย่างไร
ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย
1) หนังสือเรียน ทัศนศิลป์ ม.1
2) บัตรภาพ
3) ใบงานที่ 9.3 เรื่อง ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคเหนือ
4) ใบงานที่ 9.4 เรื่อง ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคกลาง
อธิบายลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของแต่ละภูมิภาคได้ 5) ใบงานที่ 9.5 เรื่อง ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
6) ใบงานที่ 9.6 เรื่อง ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคใต้
- ตรวจใบงานที่ 9.3 เรื่อง ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคเหนือ
- ตรวจใบงานที่ 9.4 เรื่อง ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคกลาง
- ตรวจใบงานที่ 9.5 เรื่อง ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ตรวจใบงานที่ 9.6 เรื่อง ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ภาคใต้
ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์มีความแตกต่างกันไปตามแต่ละ - ตรวจสังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน และรักความเป็นไทย
ภูมิภาค
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
- ทักษะการเปรียบเทียบ
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต