Page 47 - แผนการจัดการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ ม.1 (new)
P. 47

ขั้นที่ 1  ขั้นน า
                                                        1.  ครูให้นักเรียนดูภาพ 2 ภาพ ดังนี้
                                                          -  ภาพที่ 1  ภาพลวดลายปูนปั้นรูปกินรี สมัยสุโขทัย
                                                          -  ภาพที่ 2  ภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยา วัดเกาะแก้ว สุวรรณาราม จ.เพชรบุรี
                                                          แล้วให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นว่ามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง
                                                        2.  ครูสุ่มนักเรียน 2-3 คน แสดงความคิดเห็น แล้วให้นักเรียน คนอื่นๆ ได้แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
                                                          ในส่วนที่แตกต่างกัน
                                                        3.  ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ของภาพทั้ง 2 ภาพ เชื่อมโยงไปสู่การด ารงชีวิตของมนุษย์
      แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาศิลปะ 1 (ทัศนศิลป์)     ความเชื่อทางศาสนา และสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์
            ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหัสวิชา ศ21101       ขั้นที่ 2  ขั้นสอน
                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10                 1.  ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ศึกษาความรู้เรื่อง ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย จาก
    เรื่องทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล    เวลา 3 ชั่วโมง   หนังสือเรียน และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ โดยแบ่งหน้าที่กันศึกษา คนละ 1 ประเด็น ดังนี้

   แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย               -  หมายเลข 1 ศึกษาความรู้เรื่อง แนวความคิดและปรัชญาความเชื่อ
    เวลา 1 ชั่วโมง           ครูผู้สอน นายวสันต์ แสงรัตนกูล    -  หมายเลข 2 ศึกษาความรู้เรื่อง วัสดุและสิ่งแวดล้อม

                                                          -  หมายเลข 3 ศึกษาความรู้เรื่อง การรับอิทธิพลทางศิลปะ
                                                          -  หมายเลข 4 ศึกษาความรู้เรื่อง หน้าที่ใช้สอย
                                                          แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในแบบบันทึกการอ่าน
                                                        2.  สมาชิกแต่ละหมายเลขศึกษาความรู้ตามประเด็นที่ได้รับมอบหมาย แล้วน ามาเล่าให้เพื่อนในกลุ่มฟังทีละ
   มาตรฐาน ศ 1.2                                          คนแบบเล่าเรื่องรอบวง เรียงตามล าดับหมายเลข 1-4 ผลัดกันซักถามข้อสงสัยและอธิบายจนทุกคน
   เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ   มีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน

   วัฒนธรรม เห็นคุณค่าทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม    3.  สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันท าใบงานที่ 10.1 เรื่อง ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย เมื่อท าเสร็จ
   ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล                 แล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องและเติมเต็มค าตอบให้สมบูรณ  ์

                                                        4.  ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยค าตอบในใบงานที่ 10.1
                                                        ขั้นที่ 3  ขั้นสรุป
                                                        1.  นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย
                                                        2.  นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด

   ตัวชี้วัดที่ ม.1/3                                     นักเรียนคิดว่า งานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย  มีคุณค่าและมีความส าคัญอย่างไรบ้าง


   เปรียบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งาน
   ทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและสากล

                                                        1)  หนังสือเรียน ทัศนศิลป์ ม.1
                                                        2)  บัตรภาพ
                                                        3)  ใบงานที่ 10.1 เรื่อง ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย
   อธิบายลักษณะผลงานทัศนศิลป์ในวฒนธรรมไทยได้
                            ั



                                                        -  ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 10

                                                        -  ตรวจใบงานที่ 10.1 เรื่อง ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย
                                                        -  ตรวจแบบบันทึกการอ่าน

   ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยมีความละเอียด ประณีต      -  สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคลและการท างานกลุ่ม

   งดงาม และมีเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัว






   ความสามารถในการสื่อสาร
   ความสามารถในการคิด

   - ทักษะการเปรียบเทียบ
   ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
   42   43   44   45   46   47   48   49   50