Page 75 - alro46
P. 75
“วนเกษตร”ควำมยั่งยืน
ของเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน
พรพรรณ ปะทาเส 1
นภดล มนตรี 2
บทน�ำ
ื
ี
�
ี
ี
สานักงานการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) นอกจากมีภารกิจหน้าท่ในการจัดสรรท่ดิน
และพัฒนาอาชีพเกษตรกรแล้ว ยังต้องดาเนินงานด้านการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในเขตปฏิรูปท่ดินให้ม ี
ี
�
ความยั่งยืน ซึ่ง ส.ป.ก. ได้น�าแนวทางการท�าเกษตรกรรมยั่งยืนมาส่งเสริมให้แก่เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน
ื
ื
ี
�
ึ
ี
ื
นาไปปฏิบัติ วนเกษตรจึงเป็นแนวทางหน่งท่มีความเหมาะสม เน่องจากพ้นท่ ส.ป.ก. เป็นพ้นท่ป่า
ี
ั
ุ
ิ
ุ
่
ิ
ึ
เสอมโทรมมาก่อน (สทธพร จีระพนธ, 2554) โดยระบบวนเกษตรได้ถกระบเป็นกจกรรมหนง
ื
ุ
ู
่
ี
ภายใต้โครงการส่งเสริมเกษตรกรรมย่งยืนของ ส.ป.ก. ท่มุ่งส่งเสริมปรับเปล่ยนการผลิตภาคการเกษตร
ั
ี
รูปแบบต่าง ๆ ไปสู่ระบบวนเกษตร ซึ่งในปีงบประมาณ 2561-2564 ส.ป.ก. มีเป้าหมายในการส่งเสริม
ั
�
ี
ระบบวนเกษตรในเขตปฏิรูปท่ดินจานวนปีละ 45,000 ไร่ ท้งระบบวนเกษตรในระดับชุมชนและระดับ
�
ื
ั
ครัวเรือนเกษตรกร เพ่อนาไปสู่ความย่งยืนของชุมชนและครัวเรือนเกษตรกร (กลุ่มอนุรักษ์และฟื้นฟ ู
ึ
สภาพแวดล้อม, 2561) ซ่งกระบวนการส่งเสริมต้องมีการสร้างความเข้าใจและเตรียมความพร้อมของ
เจ้าหน้าท่และเกษตรกรในประเด็นท่เก่ยวข้องกับระบบวนเกษตร เช่น โครงสร้างและระบบการจัดการ
ี
ี
ี
ี
ี
สภาพพ้นท่และการเลือกประเภทของระบบวนเกษตรท่เหมาะสม ความรู้และความเข้าใจในระบบ
ื
1 นักวิชาการปฏิรูปที่ดินช�านาญการ กลุ่มวิจัยและพัฒนาการปฏิรูปที่ดิน ส�านักวิชาการและแผนงาน
2 จ้างเหมาบริการด้านกลุ่มวิจัยและพัฒนาการปฏิรูปที่ดิน ส�านักวิชาการและแผนงาน
62 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี