Page 76 - alro46
P. 76

ื
                              ้
                                ึ
                                                     ่
                                                                       ่
                              �
                       ั
                                                                                              ั
                       ้
                                        ้
             วนเกษตรตงแต่ต้นนาถงปลายนา และเจ้าหน้าทต้องมีการวเคราะห์เพอออกแบบการพัฒนาร่วมกบ
                                                               ิ
                                                     ี
                                        �
             เกษตรกรและกลุ่มเกษตรกร (อาทิตยา พองพรหม และคณะ, 2560ก) อีกทั้ง ส.ป.ก. ควรมีการขับเคลื่อน
             งานรายพ้นท่ในเชิงคุณภาพเพ่อสร้างต้นแบบในการดาเนินงาน ประกอบกับการสารวจและการจัดทา
                                                                               �
                        ี
                     ื
                                      ื
                                                        �
                                                                                              �
                                                                   �
             ฐานข้อมูลชนิดพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ และการใช้ประโยชน์จากการทาวนเกษตรในแต่ละสภาพพ้นท่เพ่อ
                                                                                            ี
                                                                                              ื
                                                                                         ื
             ขยายผลต่อไป (อาทิตยา พองพรหม และคณะ, 2560ข)
                                                       �
                                   ี
                    ดังน้น บทความน้จึงมีวัตถุประสงค์เพ่อนาเสนอตัวอย่างเกษตรกรในเขตปฏิรูปท่ดินท่ทา
                                                                                              �
                                                                                             ี
                                                    ื
                                                                                         ี
                        ั
                                                                               ึ
                                                                     ี
             เกษตรกรรมสอดคล้องกับแนวทางของระบบวนเกษตร โดยข้อมูลน้เป็นส่วนหน่งจากการเก็บข้อมูล
                                ื
                                                                       ี
                                                                            ื
             ภายใต้โครงการวิจัยเร่อง “การศึกษาระบบวนเกษตรในเขตปฏิรูปท่ดินเพ่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                                 ี
                                                                                            ี
                             ี
                                ื
             อย่างย่งยืน” ท้งน้ เพ่อสร้างความเข้าใจเก่ยวกับระบบวนเกษตรให้กับเกษตรกรและเจ้าหน้าท่เพ่อ
                                                                                              ื
                          ั
                   ั
             สนับสนุนการดาเนินงานการปฏิรูปท่ดินให้มีประสิทธิภาพท้งด้านการใช้ประโยชน์ท่ดินและด้านการ
                                            ี
                                                              ั
                          �
                                                                                  ี
                                             ื
                                          ั
                                                                   ี
                                                                                  ี
             อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพแวดล้อม พร้อมท้งเพ่อให้เกษตรกรในเขตปฏิรูปท่ดินมีคุณภาพชีวิตท่ดีตามเจตนารมณ์
             ของการปฏิรูปที่ดิน
             ท�ำควำมรู้จักกับระบบวนเกษตร
                                                                                  ั
                                                                                            �
                                              ี
                                     �
                    วนเกษตรเป็นการทาเกษตรท่มีมายาวนานและปฏิบัติในหลายประเทศท่วโลก แต่คาว่า
             “วนเกษตร” ยังเป็นค�าใหม่ส�าหรับการเกษตรกรรม จึงก่อให้เกิดข้อสงสัยและเกิดค�าถามที่ว่า วนเกษตร
             คืออะไร มีนักวิชาการให้คาจากัดความของวนเกษตร ในช่วง 1970s และช่วงต้น 1980s ท่น่าสนใจ
                                                                                        ี
                                     �
                                   �
             คือ Bjorn Landgren of ICRAF ได้สรุปไว้ว่า “วนเกษตร เป็นรูปแบบการใช้ที่ดินที่ประสบความส�าเร็จ
                                 ึ
                                             ั
                              ิ
               ึ
                 �
             ซ่งทาให้ได้ผลผลิตเพ่มข้นและมีความม่นคงทางนิเวศวิทยา” (Nair, 1993) แต่ถ้าการเลือกผสมผสาน
             ชนิดพันธุ์พืช/สัตว์ท่ผิดหรือไม่เหมาะสม การจัดการขาดความเหมาะสม ผู้ปฏิบัติไม่มีความรู้ความเข้าใจ
                             ี
             รวมท้งขาดแรงบันดาลใจในการทาวนเกษตร ย่อมส่งผลให้การทาวนเกษตรล้มเหลวได้เช่นเดียวกับ
                  ั
                                                                   �
                                         �
                                                           �
                  �
             การทาเกษตรรูปแบบอ่น ๆ และจากการศึกษาการใช้คานิยามของระบบวนเกษตรสามารถสรุปได้ว่า
                                ื
                                    �
                                                                ื
             วนเกษตร หมายถึง การทาเกษตรท่มีการผสมผสานของไม้ยนต้นเป็นหลักร่วมกบกจกรรมเกษตร
                                                                                    ิ
                                                                                 ั
                                            ี
                                    ื
             ด้านอน ๆ เช่น การปลูกพช การปลกหญ้าเล้ยงสตว์ การเลยงสัตว์ และ/หรือการประมงเป็นต้น
                                             ู
                                                        ั
                  ่
                  ื
                                                                ี
                                                                ้
                                                    ี
             ซ่งทากิจกรรมท้งหมดภายในพ้นท่เกษตรกรรมเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกันหรือสลับเวลากัน แต่ท้งน  ้ ี
                                                                                             ั
                          ั
                 �
                                         ี
                                      ื
               ึ
             การทาวนเกษตรต้องมีกิจกรรมท่เก้อกูลกันภายในระบบ รวมถึงเป็นการปฏิบัติท่รักษาสมดุลของ
                  �
                                                                                  ี
                                         ี
                                           ื
             ระบบนิเวศและเป็นการปฏิบัติที่มีความกลมกลืนกับวิถีชีวิตและความต้องการของเกษตรกร
                                                                  ึ
                                          �
                    ระบบวนเกษตรสามารถจาแนกออกได้หลายประเภทข้นอยู่กับหลักเกณฑ์ท่นามาใช้ในการ
                                                                                   ี
                                                                                    �
             จาแนก ซ่งประเภทของระบบวนเกษตร สรุปได้ดัง ภาพท่ 1 แต่ท่นิยมกันอย่างแพร่หลายคือการ
                      ึ
               �
                                                                      ี
                                                              ี
             จาแนกระบบวนเกษตรตามลักษณะโครงสร้างของระบบ ได้แก่ ระบบป่าไม้-กสิกรรม, ระบบป่าไม้-
               �
             ปศุสัตว์/ทุ่งหญ้า, ระบบป่าไม้-กสิกรรม-ปศุสัตว์/ทุ่งหญ้า และระบบป่าไม้-ประมง
                                                                          ี
                                                                       45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข  63
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81