Page 79 - alro46
P. 79
ี
ั
ื
2.2 พืชหน้าดิน หมายถึง พืชท่มีความสูงจากพ้นดินไม่เกิน 1 เมตร มีอายุส้น และสามารถ
ึ
ี
เก็บเก่ยวผลผลิตได้เร็ว เช่น กะเพรา โหระพา คะน้า กวางตุ้ง เป็นต้น ซ่งสามารถแบ่งออกเป็น
กลุ่มย่อยตามลักษณะการใช้ประโยชน์ได้อีก 5 ประเภท ได้แก่ พืชอาหารกลุ่มพืชล้มลุก พืชอาหาร
้
ื
ื
ุ
ื
ื
ู
ื
ั
ั
่
ี
่
ั
ื
ื
กล่มพชเกาะเกยว หรอพชเถาหรอไม้เลอย พชตระกลถว พชอาหารสตว์ พชธญพช และพชสมนไพร
ื
ื
ุ
ื
หรือพืชที่ใช้ในการป้องกันก�าจัดศัตรูพืช
2.3 พืชหัวใต้ดิน หมายถึง พืชที่น�าส่วนหัวที่อยู่ใต้ดินมาใช้ประโยชน์ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น
กลุ่มย่อยตามลกษณะการใช้ประโยชน์ได้ 3 ประเภท ได้แก่ พชกนหัว พชกนราก และพืชกินลาต้น
ั
�
ิ
ื
ื
ิ
ใต้ดินหรือรากแขนงสะสมอาหาร
�
้
้
ี
2.4 พืชนา หมายถึง พืชท่เจริญเติบโตอยู่ในนาตลอดช่วงชีวิต หรือมีช่วงหน่งท่เจริญอยู่
�
ี
ึ
ิ
ิ
้
ั
�
ู
้
�
้
ู
ิ
ู
ในนาอาจลอยอย่ผวนาหรอบรเวณรมฝั่ง อาจจมอย่ใต้นาทงหมดหรือโผล่บางส่วนขนส่บรเวณผวนา
�
้
ิ
ิ
้
�
้
ึ
ื
่
ี
ึ
ิ
ิ
้
ื
ิ
หมายรวมถงพชทีเจรญเตบโตอย่ในบรเวณทมนาขง พนทช้น และแฉะ เป็นพชนาทเจรญในนาจด
้
ู
ื
�
ี
ี
้
่
�
ื
่
�
ื
ื
้
ี
ั
่
ิ
น�้ากร่อย หรือน�้าเค็ม เช่น บัว บัวบก ผักตับเต่า แว่นแก้ว สาหร่าย และผักกระเฉด เป็นต้น
3. สัตว์เลี้ยงในระบบวนเกษตร
ี
�
ี
ี
ึ
�
สัตว์เล้ยงจัดว่าเป็นองค์ประกอบท่สาคัญในระบบวนเกษตรซ่งทาหน้าท่การผลิตสามารถสร้าง
รายได้และทาหน้าทเชอมโยงองค์ประกอบอน ๆ ภายในระบบวนเกษตรผ่านกระบวนการหมนเวยน
่
�
ี
ุ
ื
ื
่
่
ี
ธาตุอาหาร สัตว์เล้ยงในระบบวนเกษตรสามารถจาแนกได้ตามขนาดและความคล้ายคลึงของการเล้ยงด ู
ี
�
ี
ได้ 4 ประเภท ได้แก่
3.1 สัตว์เคี้ยวเอื้องในระบบวนเกษตร เช่น โค กระบือ แพะ แกะ สุกร เป็นต้น
3.2 สัตว์เล็กในระบบวนเกษตร เช่น ไก่ เป็ด เป็นต้น
3.3 สัตว์น�้าในระบบวนเกษตร ทั้งสัตว์น�้าจืดและน�้าเค็ม เป็นต้น
3.4 สัตว์อื่น ๆ ในระบบวนเกษตร เช่น แมลงต่าง ๆ ครั่ง-ผึ้ง เป็นต้น
ี
แม้ว่าระบบวนเกษตรจะประกอบไปด้วยไม้ยืนต้น พืชเกษตร และสัตว์ท่หลากหลายแต่
ทุกองค์ประกอบภายในระบบต่างมีความสัมพันธ์เพื่อสร้างความสมดุล และรักษาเสถียรภาพของระบบนิเวศ
มีการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนธาตุอาหาร และพลังงานระหว่างกันตลอดเวลาดังแสดงในภาพที่ 2
66 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี