Page 86 - alro46
P. 86
ิ
�
ิ
ให้ 1 คัน ในส่วนของลูกสาวนายประดษฐ์ให้ช่วยดูแลงานด้านการตลาด ตดต่อพ่อค้าและนาผลผลิต
ออกขายตามช่องทางต่าง ๆ ซึ่งท�าให้ครอบครัวมีรายได้และมีอาชีพที่มั่นคงสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่าง
ยั่งยืน โดยไม่ต้องออกไปท�างานหารายได้เพิ่มจากภายนอก
l ความปลอดภัยด้านอาหารและสุขอนามัยของเกษตรกรและชุมชน แปลงวนเกษตรของนาย
ี
�
ึ
ี
ประดิษฐ์ เป็นการทาการเกษตรท่ลดการใช้สารเคมี ซ่งส่งผลให้เกิดระบบนิเวศท่สมบูรณ์ช่วยลดการ
้
ปนเปื้อนสารเคมีในพืชอาหาร ดินและนา และยังส่งผลให้ครอบครัวของเกษตรกรและชุมชนมีอาหาร
�
ที่ปลอดภัยไว้ส�าหรับบริโภคด้วย
l ลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอกจากการท�าเกษตรในรูปแบบของวนเกษตร ครอบครัวของเกษตรกร
ึ
สามารถลดการพ่งพาปัจจัยจากภายนอกได้ ท้งปัจจัยการผลิตเกษตรและการบริโภคภายในครัวเรือน
ั
�
�
เช่น การนาเศษวัสดุภายในแปลงกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ (การทาปุ๋ยหมัก การใช้เศษวัชพืชคลุมดิน)
ื
เพ่อทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี มีพืชผัก ผลไม้และเน้อสัตว์ไว้เป็นอาหารบริโภคในครัวเรือน มีไม้ใช้เป็น
ื
ื
ื
เช้อเพลิงเพ่อลดการใช้เช้อเพลิงปิโตรเลียมได้และเน้นการใช้แรงงานภายในครัวเรือนหากช่วงใดม ี
ื
แรงงานไม่เพียงพอจึงจ้างแรงงานจากภายนอกเพิ่ม เช่น ในช่วงการน�ากิ่งตอนไผ่ลงถุงเพาะช�า เป็นต้น
สรุปและข้อเสนอแนะ
ี
ิ
ี
ี
�
จากกรณีตัวอย่างเกษตรกรในเขตปฏิรูปท่ดินท่เร่มทาเกษตรจากพืชเชิงเด่ยวจนสามารถ
ั
ปรับเปล่ยนสู่ระบบวนเกษตรได้พบว่าพ้นท่มีความหลายหลายทางชีวภาพและสร้างความม่นคง
ี
ี
ื
จากการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพและพบว่าปัจจัยที่ส�าคัญที่สุด คือ ตัวเกษตรกรเอง กล่าวคือ เกษตรกร
�
ี
�
ต้องมีความตระหนักรับรู้ถึงความสาคัญในการทาวนเกษตรและต้องการปรับเปล่ยนอย่างแท้จริงพร้อมท้ง
ั
การวิเคราะห์ตนเองและพ้นท่เพาะปลูกเพ่อเลือกวิธีการท่เหมาะสมต่อตนเองและพ้นท่มีการวางแผน
ื
ี
ื
ี
ี
ื
�
ิ
การผลิตและแผนการตลาดเกษตรกรมีการศึกษาไผ่หาความรู้เพ่มเติมอยู่เสมอแล้วนาความรู้ด้านต่าง ๆ
�
ี
ิ
มาทดลองปรับใช้ในแปลงของตนเอง ส่งสาคัญอีกประการคือช่วงระยะเวลาท่ยังไม่มีรายได้จากพืชหลัก
ื
ี
�
ั
เกษตรกรจะต้องวางแผนสร้างรายได้ระหว่างน้นด้วย เพ่อให้สามารถเล้ยงครอบครัวและมีเงินสาหรับ
ั
�
้
�
�
ี
ิ
ลงทุนเพ่มปัจจัยท่สาคัญอีกประการคือเร่อง “นา” สาหรับใช้อุปโภคบริโภคตลอดท้งปีเกษตรกรควรม ี
ื
ี
�
้
แหล่งกักเก็บนาท่เพียงพอและวางแผนการใช้นาอย่างมีประสิทธิภาพ เห็นได้ว่าเกษตรกรไม่ได้ขุดสระ
�
้
เพ่อสร้างแหล่งกักเก็บนาพร้อมกันในคราวเดียวแต่ทยอยขุดสระตามความเหมาะสมของทุนและ
�
ื
้
ี
กิจกรรมท่เกิดข้น และไม่ได้เปล่ยนแปลงการใช้ท่ดินภายในคราวเดียวแต่ใช้การปลูกพืชเหล่อมเวลา
ื
ี
ี
ึ
้
พร้อมกับมีการเก้อกูลของแต่ละกิจกรรม และมีการกักเก็บนาใต้ดินโดยการปลูกพืชคลุมดิน เป็นต้น
�
ื
ื
ี
ี
อีกปัจจัยท่เห็นได้ชัดจากกรณีตัวอย่างน้ คือ เกษตรกรสามารถขยายกล้าพันธุ์พืชได้เอง เม่อต้องการ
ั
ื
ี
่
ู
ขยายพนทปลกในแต่ละครงก็จะใช้กล้าพนธุ์พืชของตนเอง เช่น ไผ่ มะขามเปรยวยกษ์ มะนาว พชผัก
้
ื
้
ี
้
ั
ั
และสมุนไพร เป็นต้น
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 73
ี