Page 87 - alro46
P. 87
ี
รูปแบบและวิธีการทาเกษตรดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าสามารถใช้เป็นแนวทางท่เหมาะสม
�
ี
ั
�
ต่อการปรับเปล่ยนรูปแบบการทาเกษตรเชิงเด่ยวไปสู่การทาวนเกษตรได้ดังน้น ส.ป.ก. ควรมีการ
ี
�
�
ิ
ิ
ู
ิ
ทบทวนกระบวนการและวธีการส่งเสรมให้เกษตรกรทาเกษตรในรปแบบวนเกษตรโดยเรมจากการสร้าง
่
ความตระหนักรับรู้ให้ความรู้กับเกษตรกรเก่ยวกับระบบวนเกษตร การบริหารจัดการแปลง โครงสร้าง
ี
ื
ระดับช้นของพืช และความเหมาะสมของพืชในแต่ละพ้นท่ เป็นต้น มีกระบวนการส่งเสริมท่ก่อให้เกิด
ั
ี
ี
รายได้ตั้งแต่เริ่มการปรับเปลี่ยน และมีการส�ารวจและวิเคราะห์สภาพของพื้นที่เนื่องจากระบบวนเกษตร
ื
�
ต้องใช้ระยะเวลาและใช้กล้าพันธุ์พืชจานวนมาก จึงต้องสรรหาและสร้างแหล่งกล้าพันธุ์พืชเพ่อรองรับ
ความต้องการของเกษตรกรในอนาคตให้เพียงพอด้วย
�
กล่าวโดยสรุป คือ การส่งเสริมทาเกษตรในรูปแบบระบบวนเกษตรไม่ใช่เพียงการแจกต้นไม้
และการจัดอบรมให้กับเกษตรกรเท่าน้น แต่ต้องมีการศึกษาประเภทของวนเกษตรท่เหมาะสมจะนาไป
ี
�
ั
ส่งเสริมในแต่ละพื้นที่ โดยค�านึงถึงสภาพพื้นที่ ที่ตั้งพื้นที่ ขนาดพื้นที่ วัตถุประสงค์ของการท�าวนเกษตร
ื
ี
ความพร้อมของเกษตรกร ชนิดพืชและสัตว์ท่เหมาะสมกับพ้นท่ วิธีการจัดการ รวมถึงวิธีการสร้างแรง
ี
จูงใจให้กับเกษตรกรเพื่อปรับเปลี่ยนสู่การท�าวนเกษตร
R
74 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี