Page 8 - องค์ความรู้ อาหารและโภชนาการสำหรับพระสงฆ์
P. 8
ุ
ปญหาสขภาพพระสงฆ์
ั
ผลการส�ารวจสุขภาพพระสงฆ์-สามเณรทั่วประเทศจ�านวน 252,851 รูป จาก 41,142 วัด
ี
ในปี 2559 โดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าพระสงฆ์มีสุขภาพดีร้อยละ 52 มีภาวะเส่ยง
�
ร้อยละ 19 มีภาวะป่วยร้อยละ 29 ข้อมูลจากรายงานประจาปี 2563 ของโรงพยาบาลสงฆ์
ี
พบว่าปัจจัยเส่ยงต่อการเกิดโรคของพระสงฆ์ คือ ไขมันในเลือดสูง ดัชนีมวลกายเกินมาตรฐาน
สูบบุหรี่ น�้าตาลในเลือดสูง และความดันโลหิตสูง โดยโรคที่พระสงฆ์อาพาธมากที่สุด 5 อันดับแรก
คือ โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน ไข้หวัดตามฤดูกาล และโรคเหงือกอักเสบ
�
และปริทันต์ สาหรับสาเหตุการมรณภาพ 5 อันดับแรก คือ โรคมะเร็ง โรคปอดบวม โรคหัวใจ
และหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง และการติดเชื้อในกระแสเลือด
�
้
ี
�
ื
ภาวะนาหนักเกินและโรคอ้วน เป็นปัจจัยเส่ยงสาคัญของโรคไม่ติดต่อเร้อรัง ในคนอ้วน
ี
ิ
�
้
่
ี
ิ
ู
ี
่
พบว่ามีความเสยงต่อการเกดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสงเพ่มมากกว่าคนทมนาหนัก
ึ
ิ
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2-10 เท่า โดยเฉพาะอย่างย่ง ถ้าหากมีเส้นรอบวงเอวเพ่มข้นทุก 5 เซนติเมตร
ิ
ิ
่
ั
ื
ั
ั
่
ิ
ิ
จะยงเพมความเส่ยงในการเกดโรคเบาหวาน โรคความดนโลหตสูง ไขมนในเลอดสูง ตลอดจนโรคหวใจ
ี
ิ
และหลอดเลือด โดยปกติเส้นรอบเอวไม่ควรเกินส่วนสูงหารสอง (หน่วยเป็นเซนติเมตร) ข้อมูล
การตรวจคัดกรองสุขภาพพระสงฆ์และสามเณรในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ค่าดัชนีมวลกาย
�
(Body Mass Index: BMI) ปี 2559 เม่อเปรียบเทียบกับปี 2549 พระสงฆ์และสามเณรมีภาวะนาหนักเกิน
ื
้
ิ
เพ่มข้นจากเดิมร้อยละ 13.8 เป็นร้อยละ 15.9 มีภาวะอ้วนเพ่มข้น จากเดิมร้อยละ 18.0 เป็น
ึ
ึ
ิ
ึ
ร้อยละ 41.6 รวมถึงมีภาวะอ้วนลงพุงมากข้นจากเดิมร้อยละ 14.0 เป็นร้อยละ 24.9 ปัจจัยหลัก
ที่ท�าให้พระสงฆ์มีความเจ็บป่วยและเกิดโรคต่าง ๆ รวมถึงมีภาวะน�้าหนักเกินและโรคอ้วน ส่วนใหญ่
มีสาเหตุมาจากการฉันภัตตาหารท่ไม่ถูกหลักโภชนาการ ฉันหวาน มัน เค็ม และการมีกิจกรรมประจาวัน
ี
�
ั
ั
่
ี
่
ี
่
ื
ื
ทเคลอนไหวร่างกายน้อย กล่าวคอภาวะความไม่สมดลของพลงงานทร่างกายได้รบจากการ
ุ
ฉันภัตตาหาร ให้พลังงานมากกว่าการใช้พลังงานของร่างกาย หรือมีการเผาผลาญใช้พลังงานลดลง
ื
�
ี
เน่องจากพระสงฆ์ไม่สามารถเลือกฉันเองได้ต้องฉันตามท่ฆราวาสนามาถวาย ปัจจุบันคนส่วนใหญ่
�
ี
นิยมซ้ออาหารสาเร็จรูปในการตักบาตร อาหารและขนมหวานท่นิยม เช่น แกงเขียวหวาน พะโล้
ื
ี
ผัดกะเพรา ขนมเม็ดขนุน ฝอยทอง นอกจากปริมาณไขมันและนาตาลในอาหารเหล่าน้สูงแล้วยังพบว่า
้
�
ี
ี
ั
ั
ี
่
ึ
ปรมาณโซเดยมสงอกด้วย ซงจากการสารวจพบว่า อาหารตกบาตรดงกล่าวมโปรตนเพยง 2 ใน 3
ี
ู
ี
�
ิ
ของโปรตีนท่ร่างกายควรจะได้รับ จึงทาให้พระสงฆ์ได้รับโปรตีนไม่เพียงพอ รวมถึงการถวายนาปานะ
ี
�
้
�
ที่นิยมถวาย ได้แก่ น�้าผลไม้ เครื่องดื่มชูก�าลัง ชาหรือกาแฟกระป๋องส�าเร็จรูปซึ่งมีปริมาณน�้าตาลสูง
ึ
จากการสารวจพบว่าพระสงฆ์ฉันนาปานะ ชา กาแฟในปริมาณมาก วันละ 2 หน่วยบริโภคข้นไป ซ่งเป็น
�
้
ึ
�
ระดับท่ท�าให้ได้รับนาตาลเกิน จะเพ่มความเส่ยงการเกิดโรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเร้อรังอ่น ๆ ตามมา
ี
ื
ี
�
ิ
้
ื
8 องค หร บพระสงฆ และฆราวาส
ความร
ู
์
องคความร้ อาหารและโภชนาการ
์
อาหารและโภชน
้
ู
าการ
ส
ส�าหรับพระสงฆ์และฆราวาส
�
ั
์
า