Page 10 - องค์ความรู้ อาหารและโภชนาการสำหรับพระสงฆ์
P. 10
้
้
ิ
ู
การประเมนภาวะโภชนาการเบืองตนทควรร้
ี่
้
�
ั
การชั่งนาหนก
เป็นการประเมินการเจริญเติบโตที่สัมพันธ์กับภาวะโภชนาการ
ก่อนการชั่งน�้าหนัก ต้องวางเครื่องชั่งน�้าหนักลงบนพื้นราบ
ไม่ขรุขระ ที่ได้ระดับดี และสมดุล
วิธีการชั่งน�้าหนัก ให้ถอดรองเท้า และอุปกรณ์ที่มีน�้าหนักออก เช่น ผ้าคลุม กุญแจคล้อง
ื
ิ
ี
เป็นต้น ยืนอยู่กลางเคร่องช่ง โดยไม่แตะต้องส่งใด ควรช่งนาหนักในขณะท่ไม่ได้ฉันอาหารจนอ่ม
ั
ิ
�
้
ั
และถ่ายปัสสาวะให้เรียบร้อย
้
ี
ั
�
ุ
�
ั
หมายเหต ถ้าเป็นไปได้ควรทาให้เหมือนเดิมและช่งนาหนักในเวลาท่ใกล้เคียงกันทุกคร้ง
เพื่อจะได้ผลที่ถูกต้อง และสามารถน�ามาใช้เปรียบเทียบกันได้
วัดรอบเอว
เป็นการวัดการกระจายของไขมันและมวลกล้ามเนื้อในรางกายบริเวณช่วงเอวหรือช่องท้อง
่
ซ่งช่วยในการประเมินภาวะโภชนาการเกิน และอ้วนลงพุง ทาให้เส่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ
�
ึ
ี
และหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง และโรคอ้วนได้
วิธีการวัดรอบเอว
ควรวัดเมื่อไม่มีจีวรสวมอยู่ หรืออาจใส่แต่ไม่หนามาก
วัดในระดับสะดือขณะยืน ช่วงหายใจออก
สายวัดแนบกับล�าตัว
สายวัดขนานกับพื้น
ไม่รัดสายวัดแน่นเกินไป และไม่แขม่ว
เกณฑ์รอบเอว : ขนาดรอบเอวไม่ควรเกินส่วนสูงหารสอง (หน่วยเซนติเมตร)
ั
ี
หมายเหต ถ้าเป็นไปได้ควรทาให้เหมือนเดิมและวัดรอบเอวในเวลาท่ใกล้เคียงกันทุกคร้ง
ุ
�
เพื่อจะได้ผลที่ถูกต้อง และสามารถน�ามาใช้เปรียบเทียบกันได้
10 องค หร บพระสงฆ และฆราวาส
์
ู
์
องคความร้ อาหารและโภชนาการ
ความร
อาหารและโภชน
้
ู
าการ
ส
ส�าหรับพระสงฆ์และฆราวาส
�
ั
์
า