Page 24 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 24
ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำในกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ชำติให้บรรลุผลจะต้องด�ำเนินกำรผ่ำนแผนระดับ
2 และแผนระดับ 3 ที่มีกำรก�ำหนดตัวชี้วัดไว้ในทุกมิติในแต่ละช่วงเวลำ และขณะเดียวกันจะต้องมี
กำรประเมินผลกำรด�ำเนินกำรตำมระยะเวลำที่ก�ำหนดไว้ในแผนระดับ 2 และแผนระดับ 3 เพื่อจะได้
สำมำรถปรับเปลี่ยนกำรด�ำเนินงำนให้สอดคล้องสถำนกำรณ์และบริบทที่มีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ
เพื่อให้ประเทศไทยสำมำรถบรรลุวิสัยทัศน์ของยุทธศำสตร์ชำติที่ก�ำหนดไว้
ผลการดำาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติในช่วงที่ผ่านมา
กำรประเมินผลกำรด�ำเนินงำนตำมยุทธศำสตร์ชำติ โดยจะมุ่งเน้นกำรประเมินผลกำรด�ำเนินงำน
ตั้งแต่มีกำรจัดท�ำยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นมำ โดยจ�ำแนกเป็นรำยยุทธศำสตร์
6 ด้ำน ดังนี้
1) ด้านความมั่นคง เป้ำหมำยในภำพรวม คือ “ประเทศชาติมั�นคงในทุกมิติ ประชาชนอยู่ด้ี
กินด้ี มีความสุข” ซึ่ึ�งจำกกำรพิจำรณำดัชน้สันติภำพโลก พบว่ำในปี พ.ศ. 2563 ประเทศไทยมีควำม
มั่นคงเพิ่มขึ้นจำกปี พ.ศ. 2560 แต่ยังห่ำงจำกเป้ำหมำย โดยควรพัฒนำเพิ่มขึ้นในประเด็นควำมร่วมมือ
จำกหน่วยงำนภำครัฐ รำกฐำนควำมคิดและทัศนคติของคนในสังคม และจำกดัชนีชี้วัดควำมสุขของ
ประชำกรไทย ในรำยงำนควำมสุขโลก พบว่ำ ในปี พ.ศ. 2562 คนไทยมีควำมสุขลดลงเมื่อเทียบกับ
ปี พ.ศ. 2559 ส�ำหรับดัชนีควำมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสังคมไทย ในปี พ.ศ. 2562 มีคะแนนลดลง
จำกปี พ.ศ. 2561 เล็กน้อย จำกกำรลดลงของคะแนนด้ำนสุขภำวะ ด้ำนสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ
ด้ำนควำมเป็นธรรมและควำมเหลื่อมล�้ำในสังคม แต่มีคะแนนเพิ่มขึ้นในด้ำนเศรษฐกิจ ควำมเป็น
ประชำธิปไตยและธรรมำภิบำล
2) ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน พบว่ำในช่วงปี พ.ศ. 2560 - 2563 เศรษฐกิจไทย
ชะลอตัวลงต่อเนื�อง เป็นผลจำกภำวะเศรษฐกิจโลกที่ผันผวน เน่�องจำกสงครำมกำรค้ำในช่วงปี
พ.ศ. 2560 - 2561 ตำมด้วยสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโควิด-19 ท�ำให้กำรส่งออกและกำรลงทุน
ชะลอตัวลงอย่ำงมำก ส่งผลให้กำรผลิตในประเทศ ทั้งภำคเกษตร อุตสำหกรรม บริกำร ชะลอตัวลง
ผลิตภาพการผลิตของปัจจัยการผลิตรวม (Total Factor Productivity: TFP) มีแนวโน้มปรับตัวลดลง
ซึ่ึ่งเป็นกำรปรับตัวลดลงในทุกสำขำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในสำขำเกษตรกรรมและอุตสำหกรรม
ซึ่ึ่งสะท้อนว่ำประเทศไทยยังผลิตสินค้ำที่ยังคงใช้แรงงำนเข้มข้นในระดับสูง และเป็นกำรผลิตสินค้ำและ
บริกำรแบบดั้งเดิม จึงไม่สำมำรถสร้ำงมูลค่ำเพิ่มได้มำกนัก ส่วนหนึ่งเป็นผลมำจำกกำรขำดกำรพัฒนำ
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่ึ่งผลิตภำพกำรผลิตของประเทศที่ยังคงอยู่ในระดับต�่ำ จะเป็นอุปสรรคต่อ
กำรขับเคลื่อนกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจให้หลุดพ้นจำกกำรเป็นประเทศรำยได้ปำนกลำง เสถีียรภาพ
ทางเศรษฐกิจ ยังอยู่ในเกณฑ์์ดี ภำยใต้กรอบวินัยกำรเงินกำรคลังที่ก�ำหนดไว้ร้อยละ 60 อย่ำงไรก็ตำม
สถำนะทำงกำรคลังยังเป็นประเด็นที่จะต้องระมัดระวังในระยะต่อไป เนื่องจำกรัฐบำลยังมีภำระค่ำใช้จ่ำย
จ�ำนวนมำกในกำรแก้ปัญหำที่เกิดจำกสถำนกำรณ์โควิด-19 ซึ่ึ่งคำดว่ำจะยังไม่คลี่คลำยในอนำคตอันใกล้
ในขณะที่กำรจัดเก็บรำยได้มีแนวโน้มลดลง จึงท�ำให้ระดับของกำรขำดดุลงบประมำณต่อ GDP และหนี้
สำธำรณะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้ภำระหนี้ต่องบประมำณเพิ่มขึ้น ซึ่ึ่งจะส่งผลกระทบต่อรำยจ่ำย
22 ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)