Page 26 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 26
ลดควำมเหลื่อมล�้ำ ในขณะที่ควำมไม่เสมอภำคทำงด้้านการถีือครองทรัพย์สินยังคงอยู่ในระดับสูง
โดยเฉพำะทรัพย์สินประเภทบ้ำน ที่ดิน และสิ่งปลูกสร้ำงที่ใช้ประกอบธุรกิจ/เกษตรกรรม และทรัพย์สิน
ทำงกำรเงิน ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลให้ควำมเหลื่อมล�้ำทำงด้ำนรำยได้สูงขึ้น นอกจำกนี้ กลุ่มผู้มี
รำยได้น้อยสำมำรถเข้ำถึงเพียงแหล่งเงินทุนนอกระบบ ซึ่ึ่งมีต้นทุนทำงกำรเงินที่สูงกว่ำกลุ่มผู้มีรำยได้สูง
ที่สำมำรถเข้ำถึงแหล่งเงินทุนในระบบ ส�ำหรับควำมเหลื่อมล�้ำด้้านโอกาสทางการศึกษาในภำพรวม
มีทิศทำงที่ดีขึ้น แต่ยังมีควำมเหลื่อมล�้ำด้้านคุณภาพและการจัด้สรรทรัพยากรทางการศึกษาระหว่ำง
สังกัดโรงเรียน ขนำดโรงเรียน ภูมิภำค และระหว่ำงกลุ่มรำยได้ของประชำกร ส่วนด้้านหลักประกันสุขภาพ
มีควำมครอบคลุมประชำกรเกือบทั้งประเทศ แต่ยังคงมีควำมเหลื่อมล�้ำด้ำนคุณภำพบริกำรระหว่ำง
หลักประกันสุขภำพ 3 ระบบและควำมเหลื่อมล�้ำระหว่ำงกลุ่มประชำกรตำมฐำนะทำงเศรษฐกิจ นอกจำกนี้
ยังมีความแตกต่างในการเข้าถีึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ ระหว่ำงครัวเรือนที่มีสถำนะทำงเศรษฐกิจต�่ำสุด
กับครัวเรือนที่มีสถำนะทำงเศรษฐกิจสูงสุด
5) ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหามลพิษและ
ผลจากการเปลี�ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีแนวโน้มทวีควำมรุนแรงขึ้น และจะเป็นภัยคุกคำมส�ำคัญ
ทั้งต่อทรัพยำกรธรรมชำติและคุณภำพชีวิต พื้นที�ป่าไม้มีแนวโน้มเพิ�มขึ้น แต่ยังคงต�่ำกว่ำค่ำเป้ำหมำย
คุณภาพของน�้าทะเลชายฝั่ั�งมีควำมเสื่อมโทรมมำกขึ้น กำรจัดกำรน�้าเสียจากชุมชนยังไม่สำมำรถ
ด�ำเนินกำรได้อย่ำงทั่วถึง ขยะอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น ในขณะที่คุณภาพอากาศยังมีปัญหำหมอกควัน และ
ปัญหำฝุ่นละอองขนำดเล็กเกินมำตรฐำนโดยเฉพำะในช่วงต้นปี อย่ำงไรก็ดี ประเทศไทยสำมำรถบรรลุ
เป้ำหมำยการลด้ก๊าซเรือนกระจกของประเทศส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2560 ซึ่ึ�งเร็วกว่ำเป้ำหมำยที่ก�ำหนดไว้
ในปี พ.ศ. 2563
6) ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ภาครัฐมีความก้าวหน้า
ในการปรับปรุงระบบบริหารจัด้การให้เป็นด้ิจิทัล แต่มีความท้าทายด้้านเสถีียรภาพทางการคลัง
การปรับปรุงกฎระเบียบให้ทันสมัย และการปรับโครงสร้างให้มีความยืด้หยุ่น ดัชน้ธรรมำภิบำลโลก
(Worldwide Governance Index : WGI) ปี พ.ศ. 2563 พบว่ำ ด้ำนควำมมีประสิทธิผลของรัฐ
และกำรควบคุมปัญหำทุจริตประพฤติมิชอบมีค่ำคะแนนลดลง ส�ำหรับดัชนีรัฐบำลอิเล็กทรอนิกส์
(E-Government Development Index : EGDI) ประเทศไทยได้คะแนนเพิ่มขึ้น แต่เมื่อพิจำรณำในส่วน
ประกอบส�ำคัญ พบว่ำ กำรให้บริกำรออนไลน์ โครงสร้ำงพื้นฐำนโทรคมนำคม และทุนมนุษย์ ยังต้อง
ได้รับกำรปรับปรุง กฎระเบียบมีความซ�้าซ้อนและล้าสมัย ภำครัฐมีโครงสร้ำงขนำดใหญ่และไม่ยืดหยุ่น
การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคของการดำาเนินการ
จำกผลกำรพัฒนำที่กล่ำวข้ำงต้น สำมำรถน�ำมำวิเครำะห์เพื่อหำประเด็นปัญหำ และสำเหตุ
ที่ท�ำให้กำรด�ำเนินกำรยังไม่สำมำรถบรรลุเป้ำหมำยตำมยุทธศำสตร์ชำติได้ใน 2 มิติ ดังนี้
1) ประเด็นปัญหำในเชิงโครงสร้ำงที่ยังไม่ได้รับกำรแก้ไข เช่น กฎหมำยและระเบียบจ�ำนวนมำก
ที่เป็นอุปสรรคต่อกำรประกอบธุรกิจ ปัญหำกำรผูกขำด ท�ำให้ผู้ประกอบกำรรำยย่อยไม่สำมำรถเข้ำสู่
ตลำดได้ ปัญหำกำรทุจริตคอรัปชั่น ขำดกำรลงทุนในโครงสร้ำงพื้นฐำน ทักษะและควำมสำมำรถของ
แรงงำนไทยไม่เหมำะสมกับต้นทุนแรงงำน ระบบกำรจัดสรรงบประมำณแบบรวมศูนย์
24 ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)