Page 25 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 25

ลงทุนภำครัฐซึ่ึ่งเป็นตัวขับเคลื่อน กำรลงทุนภำคเอกชนมีแนวโน้มที่จะลดลง หน้้ภาค
                                         ครัวเรือนเริ�มมีสัญญำณควำมเสี่ยงชัดเจนขึ้น เน่�องจำกมูลค่ำหน้้ต่อ GDP ปรับตัว
                                         เพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็วตั้งแต่ไตรมำสสองของปี พ.ศ. 2563 ส่วนหนึ่งเป็นผลจำก

                                         สถำนกำรณ์โควิด-19 ท�ำให้รำยได้ของประชำชนในประเทศลดลง ส่งผลต่อควำม
                                         สำมำรถในกำรช�ำระหนี้ของครัวเรือน อันด้ับความสามารถีในการแข่งขัน ในปี พ.ศ. 2564
                                         สถำบัน IMD ประเทศไทย ได้จัดอันดับควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศไทย
                                         อยู่ในล�ำดับที่ 28 ดีขึ้นจำกอันดับที่ 29 ในปี พ.ศ. 2563 อย่ำงไรก็ตำม ปัจจัยที่ยัง

                                         เป็นปัญหำของประเทศไทยมำต่อเนื่องยำวนำน ที่สมควรจะได้รับกำรแก้ไข มี 3 เรื่อง
                                         ได้แก่ (1) ผลิตภำพและประสิทธิภำพของภำคธุรกิจ (2) ประสิทธิภำพของภำครัฐ
                                         โดยเฉพำะในหมวดย่อย เรื่องกำรบริหำรจัดกำรขององค์กรภำครัฐ กฎหมำยธุรกิจ
                                         และกรอบกำรพัฒนำทำงสังคม (Social Framework) และ (3) กำรพัฒนำโครงสร้ำง

                                         พื้นฐำน โดยเฉพำะโครงสร้ำงพื้นฐำนด้ำนกำรศึกษำ ด้ำนสุขภำพและสิ่งแวดล้อม และ
                                         ด้ำนวิทยำศำสตร์เทคโนโลยี

                                                3) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ในปี พ.ศ.
                                         2562 ดัชนีกำรพัฒนำมนุษย์ (Human Development Index: HDI) ซึ่ึ่งเป็นดัชนีที่
                                         สะท้อนกำรพัฒนำในภำพรวมปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องจำกปี พ.ศ. 2559 อย่ำงไรก็ตำม

                                         ยังมีปัญหำด้ำนคุณภาพการศึกษา เนื่องจำกคะแนนสอบ PISA (Programme
                                         for International Student Assessment) มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ปี
                                         พ.ศ. 2555 และอยู่ในระดับที่ต�่ำกว่ำหลำยประเทศที่มีระดับกำรพัฒนำใกล้เคียงกัน
                                         นอกจำกนี้ ผลคะแนนเฉลี่ยกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน
                                         (Ordinary National Education Test: O-NET) 4 วิชำหลัก เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย

                                         และพบว่ำผู้ที่มีผลสัมฤทธิ�ทำงกำรศึกษำสูงยังคงกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหำนคร
                                         ส�ำหรับระบบสาธารณสุขในภาพรวมด้ีขึ้น โดยสัดส่วนจ�ำนวนประชำกร ต่อแพทย์
                                         1 คน ลดลงจำก 2,778 คน ในปี พ.ศ. 2550 เหลือ 1,771 คน ในปี พ.ศ. 2561 แต่ยังมี

                                         ปัญหำควำมเหลื่อมล�้ำกำรกระจุกตัวของบุคลำกรทำงกำรแพทย์ในกรุงเทพมหำนคร
                                         และเมืองใหญ่
                                                4) ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคในสังคม ค่ำสัมประสิทธิ�ควำม

                                         ไม่เสมอภำค (Gini Coefficient) ทั้งทำงด้้านรายได้้และรายจ่ายปรับตัวลดลง แต่
                                         พบว่ำอัตรำกำรขยำยตัวของรำยได้เฉลี่ยของกลุ่มประชำกรรำยได้ต�่ำร้อยละ 40 เพิ่มขึ้น
                                         ในอัตรำที่ต�่ำกว่ำของกลุ่มประชำกรร้อยละ 60 ที่มีรำยได้สูง นอกจำกนี้ เมื่อน�ำ

                                         ข้อมูลจำกฐำนข้อมูลภำษีเงินได้มำพิจำรณำ พบว่ำมำตรกำรหักค่ำใช้จ่ำยและ
                                         ค่ำลดหย่อนต่ำง ๆ ส่งผลให้ควำมเหลื่อมล�้ำทำงด้ำนรำยได้ของผู้ยื่นแบบเสียภำษี
                                         เงินได้บุคคลธรรมดำในภำพรวมเพิ่มสูงขึ้น ซึ่ึ่งสะท้อนว่ำมำตรกำรลดหย่อนภำษี
                                         ท�ำให้เกิดกำรบิดเบือนวัตถุประสงค์ของภำษีอำกรในด้ำนกำรกระจำยรำยได้และ





                                                                                              นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63  23
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30