Page 31 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 31

ปกติจะอยู่ใต้ทะเลลึกในสถำนที่เลี้ยงปลำที่มนุษย์สร้ำงขึ้น หรือกำรใช้วิทยำกำรปัญญำ
                                         ประดิษฐ์และเทคโนโลยีหุ่นยนต์ในกำรท�ำงำนแทนมนุษย์ในหลำยมิติและเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

                                         ซึ่ึ่งเท่ำกับอุปทำนทรัพยำกรธรรมชำติและแรงงำนสำมำรถถูกสร้ำงขึ้นได้อย่ำงไม่
                                         จ�ำกัด ส่งผลกระทบต่อกลุ่มผู้ใช้แรงงำนอย่ำงหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจำกนี้ประสิทธิภำพ
                                         จำกกำรใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ก็สูงขึ้นจำกในอดีตอย่ำงมหำศำล ดังนั้น ข้อจ�ำกัดจำก
                                         ทรัพยำกรธรรมชำติ เช่น ที่ดิน สภำพภูมิอำกำศ เวลำ หรือแรงงำน จึงไม่ใช่ข้อได้
                                         เปรียบในกำรแข่งขันอีกต่อไป ดังจะสังเกตได้จำกอัตรำกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ

                                         ของประเทศไทยชะลอตัวลงอย่ำงเห็นได้ชัดเจน เมื่อเทียบกับประเทศที่มีกำรพัฒนำ
                                         ทำงด้ำนเทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่ำงก้ำวหน้ำหลังจำกกำรเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ
                                         กำรเงินในสหรัฐอเมริกำในปี 2551 - 2552

                                                ดังนั้น จึงควรให้ควำมส�ำคัญกับกำรก�ำหนดทิศทำงในกำรพัฒนำเทคโนโลยี
                                         และนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ พร้อมทั้ง
                                         ท�ำควำมเข้ำใจกระบวนกำรใช้งำนเทคโนโลยีนั้น ๆ ซึ่ึ่งโดยทั่วไป (1) กระบวนกำรคิด

                                         วิเครำะห์ใด ๆ จ�ำเป็นต้องเริ่มจำกพื้นฐำนกำรมีข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุด (2) เพื่อท�ำให้กำร
                                         คิดวิเครำะห์ซึ่ึ่งเป็นขั้นตอนต่อไปเกิดขึ้นได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และ (3) จะน�ำไปสู่
                                         ค�ำตอบหรือกำรตัดสินใจที่ถูกต้อง ซึ่ึ่งหำกพิจำรณำตำมขั้นตอนดังกล่ำว จะเห็นว่ำ

                                         เทคโนโลยีดิจิทัลจะเป็นพื้นฐำนส�ำหรับกำรท�ำงำนและกำรพัฒนำเทคโนโลยีอื่น ๆ ทุก
                                         ประเภท ประเทศไทยจึงควรเร่งพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์และขีดควำมสำมำรถด้ำน
                                         ดิจิทัลเป็นกำรเร่งด่วนที่สุด เพื่อให้ประเทศไทยสำมำรถน�ำเอำควำมรู้และข้อมูลที่มี
                                         อยู่ทั้งหมดทั้งในและนอกประเทศมำใช้ประโยชน์ได้อย่ำงเป็นรูปธรรม นอกจำกนี้ใน
                                         ขั้นตอนที่ (2) ประเทศไทยควรพิจำรณำแผนยุทธศำสตร์ในกำรพัฒนำด้ำนเศรษฐกิจ

                                         และสังคมของประเทศว่ำจะไปในทิศทำงใด เพื่อให้เทคโนโลยีที่จะถูกพัฒนำขึ้น
                                         สอดคล้องกับแผนกำรพัฒนำประเทศและสำมำรถใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยีได้อย่ำง
                                         เป็นรูปธรรม เช่น เทคโนโลยีด้ำนกำรแพทย์และชีวภำพ เทคโนโลยีด้ำนกำรเกษตร

                                         และกำรแปรรูปอำหำร เทคโนโลยีด้ำนโลจิสติกส์ เทคโนโลยีด้ำนกำรผลิต เทคโนโลยี
                                         ด้ำนพลังงำน หรือเทคโนโลยีด้ำนกำรศึกษำ เป็นต้น

                                                กำรพัฒนำเทคโนโลยีในปัจจุบันเกิดขึ้นทั้งในแนวลึกเฉพำะเจำะจงมำกขึ้น
                                         และก�ำกวมจับต้องได้ยำกมำกขึ้น เช่น กำรคิดค้นพัฒนำของเทคโนโลยีชีวภำพใน
                                         กำรคิดค้นพัฒนำยำและกำรรักษำทำงกำรแพทย์ใหม่ ๆ ที่ศึกษำลึกลงไปในระดับ
                                         อนุภำคที่เล็กละเอียดมำก หรือ เทคโนโลยีในกำรจัดเก็บและบริหำรข้อมูลดิจิทัล ซึ่ึ่ง

                                         ในอดีตเป็นกำรรวบรวมทำงกำยภำพในศูนย์ข้อมูลขนำดใหญ่ แต่ปัจจุบันเทคโนโลยี
                                         กำรบริหำรข้อมูลดิจิทัลสำมำรถค้นหำและน�ำข้อมูลที่เกี่ยวข้องมำท�ำงำนร่วมกันจำก
                                         หลำกหลำยพื้นที่ทำงกำยภำพ ซึ่ึ่งมีควำมแตกต่ำงจำกลักษณะกำรพัฒนำเทคโนโลยี
                                         ในอดีต เพรำะมีควำมหลำกหลำย ต่อเนื่อง และไม่ชัดเจนไม่แน่นอน (VUCA) จับต้อง





                                                                                              นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63  29
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36