Page 36 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 36

1) ทะเลจีนใต้ (South China Sea) กำรอ้ำงกรรมสิทธิ�เหน่อหมู่เกำะทะเลจีนใต้
                เป็นประเด็นควำมขัดแย้งระหว่ำงประเทศที่ส�ำคัญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งระหว่ำงจีนกับประเทศ
                ในภูมิภำค และนอกภูมิภำค โดยมีกำรเคลื่อนไหวและด�ำเนินกิจกรรมในพื้นที่อย่ำงต่อเนื่อง และเป็น

                ช่องทำงให้ประเทศนอกภูมิภำคเข้ำมำแสดงบทบำทในพื้นที่ ทั้งกำรซึ่้อมรบ กำรส่งเรือหรือเครื่องบิน
                เข้ำมำในพื้นที่พิพำท โดยอ้ำงว่ำเป็นน่ำนน�้ำสำกล หรือกำรส�ำรวจหรือขุดเจำะแหล่งพลังงำน ภำยใต้กำร
                ปฏิบัติกำรรักษำเสรีภำพในกำรเดินเรือ (Freedom of Navigation) ของสหรัฐอเมริกำ ทั้งนี้ กรณีพิพำท

                ดังกล่ำวจะยังเป็นประเด็นกำรเมืองระหว่ำงประเทศต่อไป รวมถึงกำรปะทะทำงกำรทูตในเวทีต่ำง ๆ
                ทั้งทวิภำคีและพหุภำคี ส่วนกำรจัดท�ำประมวลกำรปฏิบัติในทะเลจีนใต้ (Code of Conduct in the South
                China Sea: COC) ยังต้องใช้เวลำ โดยประเทศที่เกี่ยวข้องเห็นพ้องในกำรผลักดันให้ COC ประสบ
                ควำมส�ำเร็จหำกไม่กระทบต่ออธิปไตย นอกจำกนี้ ปัญหำทะเลจีนใต้ มีแนวโน้มที่จะถูกท�ำให้เป็นพื้นที่
                ทำงกำรทหำรเนื่องจำกปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศในพื้นที่ทะเลจีนใต้มีมิติทำงกำรทหำรเป็นส่วนส�ำคัญ

                ซึ่ึ่งประเมินจำกกำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถทำงกำรทหำรของตัวแสดงต่ำง ๆ อันมีลักษณะของกำร
                ตอบโต้และป้องปรำมกันและกัน มีแนวโน้ม 3 ประกำร คือ 1) กำรใช้ก�ำลังทหำรของจีนเพื่อครอบครอง
                พื้นที่ในทะเลจีนใต้ 2) กำรสะสมอำวุธยุทโธปกรณ์ของประเทศผู้เรียกร้องสิทธิเหนือพื้นที่พิพำทเพื่อ

                รักษำผลประโยชน์แห่งชำติทำงทะเลของตน และ 3) ควำมพยำยำมของสหรัฐอเมริกำในกำรถ่วงดุล
                กับจีนด้วยกำรน�ำก�ำลังมำปฏิบัติกำรรักษำสิทธิกำรเดินเรือและบินผ่ำน รวมถึงกำรสร้ำงเครือข่ำย
                ควำมร่วมมือทำงทหำรกับมิตรประเทศ
                            2) อนุภูมิภำคแม่น�้ำโขง เป็นอีกพื้นที่แข่งขันอิทธิพลระหว่ำงสหรัฐอเมริกำกับจีน
                กำรเข้ำมำของทั้งสองประเทศจะมีส่วนท�ำให้อนุภูมิภำคแม่น�้ำโขงเป็นจุดขัดแย้งระหว่ำงประเทศ

                โดยต่ำงด�ำเนินกำรผ่ำนช่องทำงทวิภำคีและผ่ำนกรอบควำมร่วมมือกับประเทศในอนุภูมิภำคแม่น�้ำโขง
                เพื่อเป็นกลไกสนับสนุนกำรด�ำเนินนโยบำยและยุทธศำสตร์ของตน ทั้งนี้ กำรช่วงชิงบทบำทน�ำ และ
                กำรแข่งขันบทบำทระหว่ำงประเทศมหำอ�ำนำจ ท�ำให้ประเทศในอนุภูมิภำคแม่น�้ำโขงเผชิญควำมท้ำทำย

                ในกำรก�ำหนดท่ำทีและด�ำเนินนโยบำยต่ำงประเทศ ทั้งกำรรักษำสมดุลควำมสัมพันธ์ และหลีกเลี่ยง
                กำรเข้ำไปมีส่วนเกี่ยวข้อง หรือได้รับผลกระทบจำกประเด็นควำมขัดแย้งใหม่ ๆ ระหว่ำงสหรัฐอเมริกำ
                กับจีน ที่จะเพิ่มขึ้นหลำกหลำยประเด็นในอนำคต

                          1.3  การเปลี่ยนแปลงของความมั่นคงทางไซีเบอร์
                              1)  จำกกำรที่มนุษย์มีกำรพึ่งพำและน�ำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศหรืออินเทอร์เน็ต
                มำใช้ในหลำกหลำยรูปแบบไม่ว่ำจะเป็น Information Technologies (IT) ที่มีกำรเชื่อมต่อระบบเครือข่ำย

                คอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์พกพำ (Mobile Devices) เข้ำหำกัน Operational Technologies (OT)
                ซึ่ึ่งเป็นระบบปิดที่มักจะใช้ในระบบของโรงงำนอุตสำหกรรม และระบบ Internet of Things (IoT) ที่มี
                กำรเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตเข้ำกับชีวิตมนุษย์ ตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ต่ำง ๆ ของมนุษย์ เพื่อท�ำให้
                ชีวิตมนุษย์เกิดควำมสะดวกสบำย  ตลอดจนสร้ำงประสิทธิภำพและประสิทธิผลของกำรปฏิบัติงำนของ
                มนุษย์ให้สูงขึ้นเป็นอย่ำงมำก แต่ในขณะเดียวกันก็มีผู้ไม่หวังดีที่พยำยำมจะแสวงประโยชน์จำกระบบ

                เทคโนโลยีสำรสนเทศรูปแบบต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็นอำชญำกรทำงไซึ่เบอร์ แฮกเกอร์ หรือแม้แต่หน่วยงำน
                ด้ำนไซึ่เบอร์ของประเทศต่ำง ๆ ที่มีกำรปฏิบัติกำรทำงไซึ่เบอร์ในหลำยรูปแบบเพื่อผลประโยชน์ของ




           34     ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติิิ (พ.ศ. 2566 - 2570)
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41