Page 38 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 38
2) คณะกรรมกำรผู้แทนรัฐสภำ (Committee Representing Pyidaungsu Hluttaw:
CRPH) จัดตั้งโดยพรรค NLD เพื่อสร้ำงควำมชอบธรรมในกำรจัดตั้งรัฐบำลพลัดถิ่น โดยประกำศใช้
กฎบัตรสหพันธรัฐประชำธิปไตยเป็นรัฐธรรมนูญชั่วครำว จัดตั้งรัฐบำลเอกภำพแห่งชำติ (National Unity
Government) และสร้ำงกองทัพสหพันธรัฐ (Federal Army) ขณะเดียวกัน พยำยำมแสวงหำควำมร่วมมือ
จำกกองก�ำลังกลุ่มชำติพันธุ์และประชำคมระหว่ำงประเทศ เพื่อสร้ำงอ�ำนำจต่อรองกับ SAC ในระยะ
ต่อไป อย่ำงไรก็ตำม CRPH ยังมีบทบำทจ�ำกัด เนื่องจำกยังไม่มีประเทศใดให้กำรรับรองเช่นเดียวกับ
กลุ่มชำติพันธุ์ที่ยังคงสงวนท่ำที
3) กองก�ำลังกลุ่มชำติพันธุ์ ส่วนใหญ่ยังสงวนท่ำที และไม่สนับสนุนฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่ง
อย่ำงชัดเจน แม้ SAC และ CRPH พยำยำมดึงเข้ำเป็นพันธมิตร อย่ำงไรก็ตำม สหภำพแห่งชำติ
กะเหรี่ยง (Karen National Union: KNU) มีท่ำทีแข็งกร้ำวต่อ SAC ที่สุด ขณะเดียวกันยังคงรักษำ
ช่องทำงติดต่อ และให้ควำมช่วยเหลือในทำงลับแก่ CRPH อำทิ กำรให้พื้นที่พักพิงแก่แกนน�ำพรรค
NLD และเตรียมพื้นที่ปลอดภัยแก่ประชำชน ทั้งนี้ กำรจัดตั้งกองทัพสหพันธรัฐของ CRPH ยังเป็นไป
ได้ยำก เนื่องจำกกลุ่มชำติพันธุ์ไม่มีควำมเป็นเอกภำพ และยังยึดผลประโยชน์ของตนเองเป็นหลัก
4) ประชำคมระหว่ำงประเทศ ไม่สำมำรถสร้ำงแรงกดดันต่อ SAC ได้มำกนัก โดย
สหรัฐอเมริกำและพันธมิตร ใช้มำตรกำรคว�่ำบำตรแบบเฉพำะเจำะจงต่อนำยทหำรระดับสูง และธุรกิจ
ของกองทัพ เนื่องจำกเกรงว่ำ กำรคว�่ำบำตรที่รุนแรงอำจผลักให้เมียนมำใกล้ชิดจีนมำกขึ้น ในขณะที่จีน
และรัสเซึ่ียยังคงใช้สิทธิยับยั้งมำตรกำรลงโทษเมียนมำในกรอบคณะมนตรีควำมมั่นคงแห่งสหประชำชำติ
(United Nations Security Council: UNSC)
แนวโน้มสถำนกำรณ์กำรเมืองในเมียนมำจะทวีควำมรุนแรงต่อเนื่อง โดย SAC น่ำจะจัดวำง
ระบบกำรเมืองใหม่ที่เอื้อประโยชน์ต่อกองทัพเมียนมำในระยะยำวและยังคงใช้มำตรกำรแข็งกร้ำว
ต่อผู้ชุมนุมเพื่อควบคุมสถำนกำรณ์ ในขณะที่ผู้ชุมนุมอำจยกระดับใช้ควำมรุนแรงหรือก่อวินำศกรรมต่อ
ผลประโยชน์ของกองทัพเมียนมำ รวมถึงจัดหำอำวุธจำกแหล่งต่ำง ๆ ส่วนกลุ่มชำติพันธุ์ ไม่น่ำจะท�ำ
สงครำมเต็มรูปแบบกับกองทัพเมียนมำเนื่องจำกมีศักยภำพต�่ำกว่ำ แต่ยังคงปรำกฏกำรสู้รบอย่ำงจ�ำกัด
ในเขตอิทธิพลของกลุ่มชำติพันธุ์
ส�ำหรับผลกระทบด้ำนควำมมั่นคงต่อไทย สถำนกำรณ์ควำมรุนแรงในเมียนมำเป็นปัจจัย
ส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดกำรอพยพของผู้หนีภัยควำมไม่สงบชำวเมียนมำรวมถึงนักกำรเมืองเมียนมำที่อำจใช้
ไทยเป็นพื้นที่พักพิงหรือเส้นทำงเพื่อลี้ภัยไปยังประเทศที่สำม ซึ่ึ่งอำจเพิ่มควำมเสี่ยงกำรแพร่ระบำด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 ในไทย และส่งผลกระทบด้ำนเศรษฐกิจ ทั้งธุรกิจไทยในเมียนมำ
และกำรค้ำชำยแดน ตลอดจนด้ำนกำรต่ำงประเทศ จำกกำรถูกกดดันให้รับภำระด้ำนมนุษยธรรม
1.6 ความขัดแย้งอื่น ๆ ในภูมิภาค อำทิ กรณ้เกำหลีเหน่อยังคงพัฒนำโครงกำร
นิวเคลียร์ โดยจะยังมีกำรยิงทดสอบขีปนำวุธเป็นระยะ และปัญหำควำมมั่นคงของจีนกรณีไต้หวัน
กำรเรียกร้องสิทธิปกครองตนเองของเขตบริหำรพิเศษฮ่องกง เขตปกครองตนเองซึ่ินเจียง และทิเบต
1.7 สถานการณ์ความขัดแย้งกับประเทศรอบบ้าน โดยเฉพำะควำมขัดแย้งระหว่ำง
ประเทศกรณีพื้นที่ทับซึ่้อนระหว่ำงไทยกับประเทศรอบบ้ำนทั้งเขตแดนทำงบกและทำงน�้ำ ยังไม่มี
แนวโน้มจะยุติ และมีควำมเสี่ยงที่จะกระทบควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ เนื่องจำกปัญหำดังกล่ำว
36 ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติิิ (พ.ศ. 2566 - 2570)