Page 35 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 35
บริบทด้านความมั่นคงของไทยในปัจจุบันประกอบด้วยประเด็นต่าง ๆ
หลากหลายมิติ ทั้งสถานการณ์ภายในและต่างประเทศ สถานการณ์ความมั่นคง
รูปแบบเดิมและสถานการณ์ความมั่นคงรูปแบบใหม่ อันเป็นผลจากกระแส
โลกาภิวัตน์และการพัฒนาเทคโนโลยี ส่งผลให้ต้องพิจารณาทั้งรูปแบบของ
สถานการณ์ความมั่นคง และมาตรการที่นำามาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ให้สอดคล้องและมีประสิทธิภาพ โดยบริบทสถานการณ์ความมั่นคง รวมถึง
ข้อเสนอมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหามีดังนี้
บริบทด้านความมั่นคงในปัจจุบัน
ประกอบด้วยสถำนกำรณ์ด้ำนควำมมั่นคงทั้งในระดับภูมิภำคและภำยใน
ประเทศ ที่เกิดจำกกระแสโลกำภิวัตน์และกำรพัฒนำเทคโนโลยี ส่งผลให้บริบทและ
สถำนกำรณ์ควำมมั่นคงเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้
1. บริบทความมั่นคงระดับโลกและภูมิภาคที่สำาคัญ
1.1 ด้านความขัดแย้งของประเทศมหาอำานาจ สถำนกำรณ์โลก
ในห้วงที่ผ่ำนมำสะท้อนให้เห็นถึงควำมขัดแย้งอย่ำงรุนแรงระหว่ำงจีนกับสหรัฐอเมริกำ
ซึ่ึ่งมีกำรแข่งขันทำงด้ำนกำรทหำร เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และวัฒนธรรม โดยในปี 2561
สหรัฐอเมริกำได้เพิ่มงบประมำณทำงทหำร จ�ำนวน 750,000 ล้ำนเหรียญต่อปี ซึ่ึ่งมำก
ที่สุดในประวัติศำสตร์สหรัฐฯ เพื่อพัฒนำศักยภำพของกองทัพและอำวุธยุทโธปกรณ์
ในขณะที่จีนได้ด�ำเนินกำรแข่งขันผ่ำนโครงกำรหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทำง (Belt and Road
Initiative: BRI) ซึ่ึ่งเป็นโครงกำรพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำน แต่อำจมีวัตถุประสงค์ทำงกำร
ทหำรแอบแฝง โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรสร้ำงท่ำเรือภำยใต้โครงกำร BRI ที่อำจพัฒนำ
เป็นฐำนทัพของจีนในระยะยำว แม้ว่ำสหรัฐอเมริกำจะเข้ำสู่กำรบริหำรประเทศด้วย
รัฐบำลชุดใหม่ น�ำโดย นำยโจเซึ่ฟ ไบเดน แต่มีท่ำทีหรือนโยบำยสกัดกั้นอิทธิพล
ของจีนต่อไป รวมทั้งจะให้ควำมส�ำคัญกับภูมิภำคอินโดแปซึ่ิฟิกมำกขึ้น และพัฒนำ
ควำมสัมพันธ์กับกลุ่มพันธมิตรอีกครั้งเพื่อปิดล้อมจีน เช่น อินเดีย ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย
และเกำหลีใต้ จำกกำรที่สหรัฐอเมริกำจะไม่ผ่อนปรนท่ำทีต่อจีนดังกล่ำว ส่งผลท�ำให้
ประเทศต่ำง ๆ ถูกกดดันให้เผชิญกับกำรเลือกข้ำงอย่ำงหลีกเลี่ยงไม่ได้
1.2 การแข่งขันอิทธิพลเชิงยุทธศาสตร์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับ
จีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นจำกกำรที่จีนต้องกำรรักษำ
และขยำยอิทธิพล ทั้งด้ำนเศรษฐกิจ กำรเมือง กำรทหำร และควำมมั่นคงในภูมิภำค
ที่มีควำมส�ำคัญในเชิงภูมิรัฐศำสตร์ เช่นเดียวกับสหรัฐอเมริกำที่ต้องกำรแสวงหำและ
ขยำยอิทธิพลในภูมิภำคกับพันธมิตร และร่วมกับพันธมิตรโดยกำรผลักดันยุทธศำสตร์
Indo-Pacific เพื่อยับยั้งกำรขยำยอิทธิพลของจีน ผ่ำนยุทธศำสตร์ Belt and Road
Initiatives (BRI) โดยมีพื้นที่แข่งขันขยำยอิทธิพลของทั้งสองประเทศ ได้แก่
นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63 33