Page 43 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 43

ถึง 5,395 คน เหตุกำรณ์มหำอุทกภัย ในปี พ.ศ. 2554 มีควำมเสียหำยสูงถึง 1.44
                                         ล้ำนล้ำนบำท สถำนกำรณ์ภัยแล้ง ในปี พ.ศ. 2556 มีควำมเสียหำยสูงถึง 3 พันล้ำนบำท
                                         จึงท�ำให้เกิดกำรตื่นตัวในเชิงนโยบำยของรัฐ ควำมตระหนักรู้ของสำธำรณชน ระบบ
                                         อำสำสมัคร ระบบกำรจัดกำรสำธำรณภัยและกำรบริหำรจัดกำรในภำวะฉุกเฉินของ

                                         ประเทศให้มีกำรพัฒนำก้ำวหน้ำขึ้น ในขณะที่แนวโน้มสำธำรณภัยระยะต่อไปจะมี
                                         ควำมเสี่ยงเพิ่มขึ้น

                                                   2.5  สถานการณ์ด้านโรคอุบัติใหม่ โรคติดต่ออุบัติใหม่เป็นโรคที่มี
                                         ลักษณะของกำรระบำดที่ติดต่อจำกสัตว์สู่คนและจำกคนสู่คน มีทั้งโรคชนิดใหม่ที่เพิ่ง
                                         ระบำด โรคที่เคยระบำดในอดีตแล้วกลับมำระบำดซึ่�้ำ โรคที่พบในพื้นที่ใหม่ โรคที่เกิด
                                         จำกเชื้อกลำยพันธุ์ ซึ่ึ่งโรคอุบัติใหม่เหล่ำนี้ถือเป็นวิกฤติกำรณ์ทำงสำธำรณสุขของโลก

                                         และมีแนวโน้มที่เพิ่มจ�ำนวนสูงขึ้น และมีควำมรุนแรงเพิ่มมำกขึ้น จำกข้อมูลสถิติ
                                         ทำงกำรแพทย์พบว่ำ โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ที่มีลักษณะกำรแพร่ระบำดเป็นวงกว้ำงและ
                                         เป็นปัญหำสำธำรณสุขทั่วโลกจะเกิดขึ้นในทุก ๆ 100 ปี ซึ่ึ่งในอดีตเริ่มพบกำรระบำด

                                         ของไข้หวัดใหญ่ ที่มีลักษณะของกำรระบำดเป็นวงกว้ำงไปทั่วโลกในปี พ.ศ. 2461
                                         ได้แก่ กำรระบำดของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ สำยพันธุ์ H1N1 โดยต่อมำในปี พ.ศ. 2552
                                         เชื้อไวรัสดังกล่ำวเปลี่ยนสำยพันธุ์เป็น H3N2 และ H1N1 2009 ซึ่ึ่งมีกำรระบำด
                                         ไปทั่วโลกมำกกว่ำ 180 ประเทศ

                                                       ส�ำหรับในปัจจุบันทั่วโลกเผชิญกับภัยคุกคำมจำกโรคอุบัติใหม่
                                         โดยเฉพำะโรคจำกเชื้อไวรัสโควิด–19 ซึ่ึ่งมีกำรแพร่ระบำดมำตั้งแต่ปลำยปี พ.ศ. 2562

                                         โดยองค์กำรอนำมัยโลก (World Health Organization: WHO) ได้ประกำศให้กำรแพร่
                                         เชื้อไวรัสโคโรนำสำยพันธุ์ใหม่หรือโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 เป็นกำรระบำดใหญ่
                                         หลังจำกกำรลุกลำมไปอย่ำงรวดเร็วจำกเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน ไปสู่ทั่วทุกภูมิภำคของ
                                         โลก โดยมีลักษณะของกำรแพร่ระบำดแบบฝอยละออง (Droplet transmission) ร่วมกับ
                                         กำรสัมผัส (Contact transmission) นอกจำกนี้ เมื่อวันที่ 27 ธันวำคม 2563 องค์กำร

                                         อนำมัยโลกได้แถลงในโอกำสวันเตรียมพร้อมรับมือโรคระบำดสำกล (International
                                         Day of Epidemic Preparedness) โดยระบุว่ำ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 จะไม่ใช่
                                         โรคระบำดสุดท้ำยที่โลกต้องเผชิญ และถึงเวลำแล้วที่จะต้องศึกษำบทเรียนจำกกำร

                                         แพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 และจะต้องลดกำรรุกล�้ำและเบียดเบียน
                                         สัตว์ป่ำ รวมทั้ง ภัยคุกคำมจำกภำวะโลกร้อนซึ่ึ่งส่งผลให้โลกเหมำะสมกับกำรอยู่อำศัย
                                         ของสิ่งมีชีวิตน้อยลง และเป็นปัจจัยให้กำรยกระดับด้ำนสำธำรณสุขท�ำได้ยำกขึ้น

                                                       ทั้งนี้ คำดว่ำในห้วงต่อไป แนวโน้มที่จะเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่และ
                                         อุบัติซึ่�้ำจะเพิ่มมำกขึ้น เนื่องจำกควำมเจริญอย่ำงรวดเร็วทั้งด้ำนชีวภำพ เทคโนโลยี
                                         กำรติดต่อสื่อสำร และกำรเดินทำงข้ำมพรมแดนจะท�ำให้มีกำรแพร่ระบำดของโรค

                                         อย่ำงรวดเร็วและกระจำยเป็นวงกว้ำง ซึ่ึ่งจะส่งผลต่อระบบสำธำรณสุข เศรษฐกิจ และ
                                         ควำมมั่นคงของโลกอย่ำงหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยกรณีโควิด-19 เป็นบทเรียนที่สะท้อน



                                                                                              นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63  41
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48