Page 7 - คู่มือนิเทศการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
P. 7

3



                                     (2)  ให้ความรู้ก่อนด าเนินการนิเทศ (Informing-I) เป็นขั้นตอนของการให้ความรู้
                       ความเข้าใจถึงสิ่งที่จะด าเนินการว่าต้องอาศัยความรู้ ความสามารถอย่างไรบ้าง จะมีขั้นตอน

                                                                                      ุ
                       ในการด าเนินการอย่างไร และจะด าเนินการอย่างไรให้ผลงานออกมาอย่างมีคณภาพ ขั้นตอนนี้จ าเป็น
                       ทุกครั้งส าหรับเริ่มการนิเทศที่จัดขึ้นใหม่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องใดก็ตาม และเมื่อมีความจ าเป็นส าหรับงาน

                       นิเทศที่ยังเป็นไปไม่ได้ผล หรือได้ผลไม่ถึงขั้นที่พอใจซึ่งจ าเป็นที่จะต้องทบทวนให้ความรู้

                       ในการปฏิบัติงานที่ถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง
                                     (3)   การด าเนินการนิเทศ (Doing-D) ปะกอบด้วย การปฏิบัติงาน 3 ลักษณะ คือ

                       การปฏิบัติงานของผู้รับการนิเทศ (ครู) การปฏิบัติงานของผู้ให้การนิเทศ (ผู้นิเทศ) การปฏิบัติงานของ

                       ผู้สนับสนุนการนิเทศ (ผู้บริหาร)
                                                       ั
                                     (4)  การสร้างเสริมขวญก าลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานนิเทศ (Reinforcing-R) เป็นขั้นตอน
                                                                                              ึ
                       ของการเสริมแรงของผู้บริหาร ซึ่งให้ผู้รับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพงพอใจในการ
                       ปฏิบัติงานขั้นนี้อาจด าเนินไปพร้อม ๆ กับผู้รับการนิเทศที่ก าลังปฏิบัติงานหรือการปฏิบัติงานได้เสร็จ
                       สิ้นแล้วก็ได้

                                     (5)  การประเมนผลการนิเทศ (Evaluating-E) เป็นขั้นตอนที่ผู้นิเทศน าการ
                                                   ิ
                       ประเมินผลการด าเนินงานที่ผ่านไปแล้วว่าเป็นอย่างไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ หากพบว่ามี

                       ปัญหาหรือมีอุปสรรคอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ท าให้การด าเนินงานไม่ได้ผล สมควรที่จะต้องปรับปรุง แก้ไข

                                                              ิ่
                                                                                   ี
                       ซึ่งการปรับปรุงแก้ไขอาจท าได้โดยการให้ความรู้เพมเติมในเรื่องที่ปฏิบัติใหม่อกครั้ง ในกรณีที่ผลงานยังไม่
                       ถึงขั้นน่าพอใจ หรือได้ด าเนินการปรับปรุงการด าเนินงานทั้งหมดไปแล้ว ยังไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องการ
                       สมควรที่จะต้องวางแผนร่วมกันวิเคราะห์หาจุดที่ควรพัฒนา หลังใช้นวัตกรรมด้านการเรียนรู้เข้ามานิเทศ


                       กิจกรรมการนิเทศ


                           ขั้นตอนการนิเทศ                  กิจกรรมการนิเทศ                 สื่อเครื่องมือ

                       1. การวางแผน              1. จัดเตรียมสื่อเอกสาร                ปฏิทินการนิเทศ

                           (Planning  : P )          คู่มือการนิเทศ
                                                 2. จัดท าตารางการนิเทศร่วมกันกับทาง

                                                     โรงเรียน  ก าหนดวัน เวลา สถานที่ออก

                                                     นิเทศ ล าดับก่อนหลัง
                                                 3. ประสานงาน และแจ้งทางโรงเรียนทราบ

                       2.การให้ความรู้ความเข้าใจ   เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ โดย       -เอกสารแนวปฏิบัติการ

                                                                                 ั
                       ในการท างาน (Informing : I)  1. อบรมให้ความรู้ ความเข้า และฝึกทกษะ   วัดผลประเมินผลตาม
                                                 2. ประชุมกลุ่มเล็กแบบโรงเรียนเป็นฐาน เพื่อ    หลักสูตรแกนกลาง

                                                     -สนทนาเกี่ยวกับหลักปฏิบัติการวัดผล     การศึกษาขั้นพื้นฐาน
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12