Page 9 - คู่มือนิเทศการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
P. 9
5
ขั้นตอนการนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ สื่อเครื่องมือ
-ประสานการนิเทศภายในร่วมกับผู้บริหาร โรงเรียน
สถานศึกษา -ผู้อ านวยการส านักงาน
-โน้มน้าวจูงใจ ถึงประโยชน์ต่อนักเรียน ต่อ เขตพื้นที่การศกษา
ึ
สถานศึกษา ต่อผลงานวิชาชีพตนเอง -รองผู้อ านวยการ
-ชวนให้ท าด้วยความเชื่อมั่นศรัทธา ใน ส านักงานเขตพื้นที่
ความสามารถตนเอง การศึกษา
-เอาใจใส่ดูแลสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง แบบ -ศึกษานิเทศก์ประจ า
เยี่ยมยามถามไถ่ กลุ่มเครือข่าย
-การประชาสัมพันธ์ให้เป็นแบบอย่างกับคน
อื่นในโอกาสต่าง ๆ เช่นในโอกาสประชุม
ผู้บริหารประจ าเดือน
-การมอบเกียรติบัตรผู้เข้าร่วมประชุม
-มอบเกียรติบัตรผู้มีผลงานดีเด่นด้าน
การวัดผล
-มอบโล่รางวัลครูเกียรติยศดีเด่น
5.การประเมินผลการนิเทศ -การสอบถามครู ผู้อ านวยการ -แบบสังเกต
(Evaluating : E) -การสังเกตการณ์จัดการเรียนการสอนการ -แบบประเมินตนเอง
วัดผลในชั้นเรียน ส าหรับครู
-การตรวจผลการปฏิบัติงานเอกสารด้าน -แบบสอบถามความพึง
การวัดผล พอใจ
-การประเมินตนเองของครู
(Self study report)
เทคนิคการนิเทศ
การนิเทศมีรูปแบบที่หลากหลาย เมื่อพจารณาจากอดีตมาถึงปัจจุบันจะพบว่ามีนักวิชาการ
ิ
แบ่งรูปแบบการนิเทศไว้แตกต่างกันตามยุคสมัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ แต่เนื่องจากรูปแบบ
และลักษณะการนิเทศไม่แตกต่างกันนัก คือจะเน้นการนิเทศแบบตรวจตรา และแบบประชาธิปไตย
เป็นส่วนใหญ่ จึงไม่ได้แยกตามยุคสมัย แต่แบ่งการนิเทศตามรูปแบบการน าไปใช้แทน
แฮริส (Harris,1985) แบ่งการนิเทศตามลักษณะที่เด่นของการนิเทศ ได้ 2 แบบ ดังนี้
1. การนิเทศแบบเน้นการให้ค าแนะน า(Tractive Supervision) แบบนี้ผู้นิเทศจะให้
ค าแนะน า ให้ผู้ได้รับการนิเทศนาไปปรับปรุงแก้ไข