Page 158 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 158
153
โดยในการด าเนินงานของต าบล.............................. มีผู้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจดังนี้.........................
ซึ่งโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง เป็นโรคที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิตและพิการสูง จากการ เก็บข้อมูลที่ผ่านมา พบว่า
ประชาชนเมื่อมีอาการป่วยแล้ว ไม่ทราบว่าต้องรีบพบแพทย์และเข้ารับบริการที่ล่าช้า กว่าก าหนด ปัจจัยส่วนใหญ่สืบเนื่องจาก
การขาดความรู้ของประชาชนในเรื่องของโรค อาการของโรค และวิธีการ เข้าถึงบริการด้านการรักษา โดยเฉพาะทั้งโรคหลอด
เลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง หากเข้ารับบริการได้ ทันเวลาการให้ยาละลายลิ่มเลือด ก็สามารถลดอัตราการเสียชีวิตและ
พิการได้ ดังนั้นการจัดท าโครงการรณรงค์ พัฒนาองค์ความรู้แก่ประชาชนในสัญญาณเตือนภัยเรื่องโรคหลอดเลือดหัวใจและ
สมองในชุมชนจึงเป็นสิ่ง ส าคัญในลดระยะเวลาการเข้าถึงบริการและการได้รับยาละลายลิ่มเลือด ซึ่งจะลดทั้งอัตราการเสียชีวิต
และ พิการให้แก่ผู้ป่วยได้
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัด
1.เพื่อให้ความรู้โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจและสัญญาณเตือนอันตรายแก่กลุ่มปชช.ทั่วไป หรือ
ประชาชนที่มีภาวะกลุ่มเสี่ยงด้านหลอดเลือด ( CVD RISK) ในชุมชน
2. เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ และทันเวลาลดอัตราการสูญเสียชิวิตและความพิการ วิธีด ำเนินกำร
1. ขั้นตอนการวางแผนงาน
1.1 ร่วมประชุมวางแผน ก าหนดกลุ่มเป้าหมาย รูปแบบและวิธีการด าเนินงาน
1.2 แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ
1.3 ประสานการด าเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. จัดท าโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล
3. ขั้นตอนการด าเนินงาน
กิจกรรมที่ 1 เตรียมกลุ่มเป้าหมายที่จะให้องค์ความรู้เรื่องสัญญาณเตือนภัยหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือด
สมองในชุมชน
1.1 ส ารวจกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หรือกลุ่มเสี่ยง การคัดกรองหลอดเลือดจาก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ในเขตรับผิดชอบ
1.2 จัดเตรียมสื่อประชาสัมพันธ์ สัญญาณเตือนภัยเรื่องโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ
1.3 จัดท าแผนปฏิบัติงานเชิงรุกในชุมชน เพื่อให้ความรู้เรื่องการลดปัจจัยเสี่ยงที่ท าให้เกิดโรคหลอด
เลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ เช่น การลดหวาน มัน เค็ม ลดบุหรี่/สุรา เน้นการออกก าลังกายและ
ลดภาวะเครียด
1.4 ประสานผู้น าชุมชน และ อสม.ในหมู่บ้านเพื่อประชาสัมพันธ์ นัดกลุ่มเป้าหมายเพื่อเตรียมการ
1.5 วางแผนการสร้างทีมอาสาสมัครประจ าครอบครัว (อสค.) ขึ้นในชุมชนเพื่อเน้นการดูแลและเข้าถึง
ประชาชนทุกครัวเรือนอย่างต่อเนื่องยั่งยืน
1.6 วางแผนพัฒนาต่อยอด เป็น อาสาสมัครฉุกเฉินชุมชน เมื่อพบกลุ่มเสี่ยงหรือกรณีฉุกเฉินที่ต้องน าส่ง
สถานพยาบาล (ประสานความร่วมมือกับสถานพยาบาล/โรงพยาบาลประจ าอ าเภอ)
กิจกรรมที่ 2 ด าเนินการให้ความรู้ในชุมชน
2.1 ให้ความรู้ทีม อสค. โดยให้ความรู้เรื่องโรค ปัจจัยเสี่ยงที่ท าให้เกิดโรค ข้อควรปฏิบัติโดยเน้นพฤติกรรม
สุขภาพที่เหมาะสม ลดเสี่ยง หวาน มัน เค็ม (ซึ่งสามารถลดได้ทั้งโรคอ้วนลงพุง ลดกลุ่มเสี่ยงการเกิด
เบาหวานและความดันโลหิตสูง) ให้ความรู้และการดูแลกลุ่มเสี่ยง เน้นพฤติกรรมสุขภาพและการติดตาม
ต่อเนื่อง
2.2 ออกให้ความรู้ในชุมชน เน้น หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง เน้นพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและยั่งยืน เน้นการ
เข้าถึงบริการที่รวดเร็ว ช่องทางการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ (1669 และหรือผ่าน อฉช.ในชุมชน)
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563