Page 33 - เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลิตพืชไร่
P. 33

- น้ าที่ใช้หลังเก็บเกี่ยว ต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานน้าบริโภค หรือเทียบเท่า โดยเฉพาะ น้าที่

                      สัมผัสส่วนผลผลิตที่บริโภค น้ าที่ตกค้างบนผลผลิต เช่น ใบ พื้นผิวไม่เรียบ
                      2. พื้นที่ปลูก
                         - ไม่เคยเป็นที่ตั้งของ โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม โรงเก็บ

                         สารเคมี คอกสัตว์  ที่ทิ้งขยะ
                         - ไม่เคยพบสารเคมีกลุ่ม ออร์กาโนคลอรีน ออร์กาโนฟอสเฟต

                         หรือโลหะหนักตกค้าง
                         - พื้นที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกควรเป็นไปตามข้อก าหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หลักฐาน: โฉนด
                      นส.3 สค. ภทบ. สปก.ฯลฯ

                      3. การใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร
                         - ใช้ตามค าแนะน า ตามฉลากใช้ตามประเทศคู่ค้า

                         - ตรวจสอบเครื่องพ่นสารเคมีให้พร้อมใช้งานเสมอ
                         - ใช้ไม่หมด ปิดฝา เก็บในสถานที่เก็บเป็นสัดส่วน
                         - ต้องล้างถังพ่นสารเคมีหลังใช้ทุกครั้ง

                         - ผู้พ่น ต้องรู้การใช้ รู้จักแมลงและป้องกันตนเอง
                         - มีอุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุ เช่น น้ ายาล้างตา น้ าทราย

                      4. การจัดการคุณภาพในการผลิตก่อนเก็บเกี่ยว
                         - จัดท ารายการปัจจัยการผลิต
                         - แหล่งพันธุ์ /การคลุกเมล็ด หากมีการคลุกหรือเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วยวัตถุอันตรายทางการเกษตร

                      ให้ใช้ตามวิธีการและอัตราตามค าแนะน าบนฉลากที่ขึ้นทะเบียนตามกฎหมาย และบันทึกข้อมูลไว้
                         - ปุ๋ย สารปรับปรุงดิน ปุ๋ยหมักต้องย่อยสลายสมบูรณ์ และไม่ใช้สิ่งขับถ่ายจากคน

                         - พื้นที่เก็บ ผสม ต้องแยกเป็นสัดส่วน ไม่ปนเปื้อนลงพื้นที่ปลูก และแหล่งน้า
                      5. การเก็บเกี่ยวแลการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว
                         - ต้องเก็บเกี่ยวผลิตผลที่มีอายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม โดยผลิตผลมีคุณภาพตามความต้องการของ

                      ตลาด หรือตามข้อก าหนดของคู่ค้า
                         - การเก็บเกี่ยวต้องปฏิบัติอย่างถูกสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนที่มีผลต่อความปลอดภัยใน

                      การบริโภค
                         - อุปกรณ์ ภาชนะบรรจุ และวัสดุที่สัมผัสกับผลิตผลโดยตรง ต้องท าจากวัสดุที่ไม่ท าให้เกิดการ

                      ปนเปื้อน
                         - คัดแยกผลิตผลที่ไม่ได้คุณภาพออก หากมีการคัดแยกชั้นคุณภาพและขนาดก่อนจ าหน่ายให้คัด
                      แยกชั้นคุณภาพและขนาดของผลิตผลตามข้อก าหนดในมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ก าหนดส าหรับ

                      ผลิตผลแต่ละชนิดหรือตามข้อก าหนดของคู่ค้า
                         - แยกภาชนะในการบรรจุของเสียและวัตถุอันตรายทางการเกษตรอย่างชัดเจนจากภาชนะบรรจุใน

                      การเก็บเกี่ยวและการขนย้าย เพื่อป้องกันการปนเปื้อน
                         - ป้องกันสัตว์เลี้ยงไม่ให้อยู่ในบริเวณปฏิบัติงาน โดยเฉพาะสถานที่เก็บเกี่ยว คัดบรรจุและเก็บ

                      รักษา หากมีความเสี่ยงในการเป็นพาหะนาโรคให้มีมาตรการป้องกัน



               เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลิตพืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202                   หน้า 30
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38