Page 5 - เนื้อหาหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสัมพันธ์ ม.6 กิจกรรมที่ 1.1
P. 5

8       หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6                                                                                       หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6    9


                     1) สามารถปลูกพืชในพื้นที่ที่มีสภาพดินไม่เหมาะสมกับการเพาะปลูก เช่น ทะเลทราย ภูเขา                                     ขั้นตอนการย้ายฝากตัวอ่อนเริ่มจากการเหนี่ยวน�าการเป็นสัดในแม่โคนมตัวให้

            หรือที่ดินที่มีปัญหา  ใช้น้ำ และปุ๋ยที่อยู่ในรูปของสารละลายธาตุอาหารพืชน้อยกว่าการปลูกพืช                              และแม่โคนมตัวรับ  จากนั้นฉีดฮอร์โมนกระตุ้นการตกไข่  และผสมเทียมแม่โคนมตัวให้ภายใน
            โดยใช้ดิน เพราะสามารถหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ได้อีก                                                                      12 ชั่วโมง หลังอาการเป็นสัด 2–3 ครั้ง แล้วเก็บตัวอ่อน 7 วัน และประเมินคุณภาพตัวอ่อน

                     2) สามารถปลูกพืชได้ในปริมาณและความหนาแน่นสูงกว่าการปลูกโดยใช้ดิน  เพราะมี                                     ที่เก็บด้วยกล้องจุลทรรศน์  จากนั้นจึงย้ายตัวอ่อนไปฝากในแม่โคนมตัวรับหรือแช่แข็งไว้ใช้เมื่อ
            การให้สารละลายธาตุอาหารพืชอย่างเพียงพอ สามารถปลูกพืชได้ทันทีหลังจากการเก็บเกี่ยว โดย                                   แม่โคนมตัวรับมีความพร้อม

            ไม่ต้องรอการเตรียมแปลงปลูก อีกทั้งยังปลูกพืชได้ทุกฤดูกาลและทุกสภาพอากาศ                                                      5. การโคลนนิงสัตว์  หมายถึง  การ •• สาระน่ารู้  ••
                     3) สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมในการปลูกพืชได้ เช่น อุณหภูมิ ความเป็นกรด–ด่าง                                      คัดลอกหรือการท�าซ�้าสิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่โดย       เซลล์ต้นแบบ  เป็นเซลล์ที่ได้มาจากสัตว์

            ความเข้มข้นของสารละลายธาตุอาหารพืช และพืชสามารถดูดธาตุอาหารพืชในรูปไอออนหรือโมเลกุล                                    ไม่ต้องอาศัยการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ของ       ที่เราต้องการขยายพันธุ์ เรียกว่า สัตว์ต้นแบบ
            ขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำ ให้พืชที่ปลูกมีคุณค่าทางโภชนาการสูง                                                   สัตว์เพศผู้และเพศเมีย แต่ใช้เซลล์ร่างกายของ      ซึ่งเซลล์ต้นแบบนี้อาจจะมาจากอวัยวะส่วนใด
                     4) ลดปัญหาการใช้สารเคมีกำ จัดศัตรูพืช  เนื่องจากมีการควบคุมสภาพแวดล้อมทำ ให้                                  สัตว์ในการสร้างสิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ ซึ่งมีลักษณะ  ก็ได้

            ควบคุมศัตรูพืชได้ง่าย ส่งผลให้พืชเจริญเติบโตเร็ว ผลผลิตมีคุณภาพ และปลอดสารพิษ                                          ทางพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ  การ
                     การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์ต้องใช้ต้นทุนสูง  หากทำ เพื่อการค้าควรเลือกปลูกพืช                              โคลนนิงสัตว์นิยมท�าเพื่อการขยายพันธุ์ โดยน�าเซลล์ไข่ของสัตว์ที่จะโคลนนิงมาสกัดนิวเคลียสของ

            ที่ตลาดมีความต้องการสูงและเป็นพืชที่สามารถขายได้ในราคาสูง                                                              เซลล์ไข่ออกไป แล้วน�านิวเคลียสจากเซลล์ของสัตว์ที่เป็นเซลล์ต้นแบบมาถ่ายโอนลงไปในเซลล์ไข่
                  4. เทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนในโคนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ                                    นั้น ๆ แทน  จากนั้นใช้วิธีกระตุ้นแล้วน�าไปฝังไว้ในมดลูกสัตว์ที่เป็นแม่เพื่อพัฒนาเซลล์ขึ้นมาใหม่

            (ไบโอเทค)  สนับสนุน  สัตวแพทย์หญิงจุรีรัตน์  สำ เร็จประสงค์  จากคณะสัตวแพทย์ศาสตร์                                     ตัวอย่างการโคลนนิงสัตว์ เช่น
            มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พัฒนาเทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนในโคนมเพื่อใช้ในเชิงธุรกิจ เพราะช่วยให้                                        1)�การโคลนนิงแกะดอลลี�โดยนักวิทยาศาสตร์

            แม่โคนมพันธุ์ดี (ตัวให้) ซึ่งตามธรรมชาติผลิตลูกโคนมได้อย่างมาก 1 ตัวต่อปี ให้สามารถผลิต                                ชาวสกอตแลนด์ชื่อ  Jane  Wilmut  น�าเซลล์ไข่ของแกะ
            ลูกโคนมได้มากกว่า 15–20 ตัวต่อปี โดยเก็บตัวอ่อนไปฝากไว้กับแม่โคนมตัวรับ (ไม่จำ เป็นต้อง                                มาสกัดส่วนที่เป็นนิวเคลียสออก  หลังจากนั้นน�าเซลล์

            เป็นแม่โคนมตัวให้) ที่ให้ผลผลิตน้ำ นมสูงและมีความสามารถในการเลี้ยงลูกได้ดี ซึ่งช่วยลดต้นทุน                            เต้านมของแกะมาสกัดเฉพาะส่วนที่เป็นนิวเคลียสน�าไป
            การผลิต และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางการค้ากับต่างประเทศ                                                           ใส่ในเซลล์ไข่ที่สกัดนิวเคลียสออกแล้ว จากนั้นน�าเซลล์ไข่

                                                                                                                                   ที่ได้ใส่กลับเข้าไปในมดลูกของแกะเพื่อให้แกะตั้งท้อง

                            น้ำ เชื้อพ่อโคพันธุ์ดี   X        แม่พันธุ์โคนม (ตัวให้)                                               เมื่อตกลูกจะได้แกะซึ่งมีลักษณะเหมือนเซลล์ต้นแบบ       แกะเป็นสัตว์อีกชนิดหนึ่งที่นำ�เทคโนโลยี
                                                                                                                                   ทุกประการ                                                ชีวภาพมาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์
                                                                                                                                            2)�การโคลนนิงสุนัข� นักวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล  ประเทศเกาหลีใต้

                                                                                                                                   ประสบความสำ เร็จในการโคลนนิงสุนัขเพื่อการค้าได้เป็นครั้งแรกของโลก โดยทีมนักวิทยาศาสตร์
                                                เก็บตัวอ่อน                                                                        ได้สร้างเซลล์ตัวอ่อนหรือเอ็มบริโอขึ้นจากเซลล์ผิวหนังที่ได้จากเนื้อเยื่อส่วนหูของสุนัขซึ่งเก็บไว้
                                                                                                                                   เป็นอย่างดีก่อนที่มันจะตาย  จากนั้นนำ มาปลูกถ่ายฝากไว้ในท้องแม่สุนัข  2  ตัว  เพื่อให้อุ้มท้อง

                                                                                                                                   เมื่อผ่านไป 3 เดือน ลูกสุนัขก็คลอดออกมา

                                       แช่แข็ง              ฝากตัวอ่อนใน                                                                    3)�การโคลนนิงวัว� โดย  ศาสตราจารย์มณีวรรณ  กมลพัฒนะ  ผู้อำ นวยการโครงการ
                                                          แม่โคนม (ตัวรับ)                                                         นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมกิจกรรมผสมเทียมโคนมและกระบือปลัก คณะสัตวแพทย์ศาสตร์
                                                                                                                                   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  เป็นคนไทยคนแรกที่นำ วิธีการโคลนนิงมาใช้ในประเทศไทยได้สำ เร็จ
                               แผนผังแสดงขั้นตอนการนำ�เทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนในโคนม
                                                                                                                                   จนประสบผลสำ เร็จในการโคลนนิงลูกโคตัวแรกของประเทศไทยชื่อว่า “อิง”
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10