Page 7 - เนื้อหาหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสัมพันธ์ ม.6 กิจกรรมที่ 1.1
P. 7
12 หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6 หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6 13
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตรทคโนโลยีกับโภชนศาสตรทคโนโลยีกับโภชนศาสตร
รูปแบบของมหาวิทยาลัยเปดก็ได้ ลักษณะเฉพาะของการศึกษาทางไกล คือ นักเรียนศึกษา เ เ เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์
ด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่และสามารถเลือกเวลาเรียนได้ตามความสะดวก เป็นการศึกษาตลอดชีวิต โภชนศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่ง ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอาหาร
การให้โอกาสเท่าเทียมกันในการศึกษา ตอบสนองความต้องการในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาคน กับกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต โดยเน้นเรื่องอาหาร
และพัฒนางานในวิชาชีพของบุคคลได้โดยไม่ต้องเข้ารับการศึกษาในสถานศึกษา นอกจากนี้ยัง พิษภัยในอาหาร โภชนาการศึกษา การส่งเสริมภาวะโภชนาการในครอบครัวและชุมชนเป็นสำ คัญ
เป็นการส่งเสริมการสื่อสารมวลชนอีกด้วย สื่อที่ใช้ในการศึกษาทางไกลแบ่งออกเป็น 3 ประเภท เพื่อให้ประชาชนปฏิบัติด้านอาหารและโภชนาการได้ถูกต้อง ซึ่งจะช่วยให้มีสุขภาพพลานามัยดี
ได้แก่ ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีผลผลิตทางการเกษตรอย่างหลากหลาย สามารถ
1)�สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นสื่อที่บรรจุเนื้อหารายละเอียดตามประมวลการสอนของแต่ละวิชา นำ มาบริโภคและใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร การถนอมอาหาร และการแปรรูปอาหาร
ในหลักสูตร ซึ่งนักเรียนต้องศึกษาเนื้อหาจากสื่อหลักให้ครบถ้วนตามหลักสูตร เพื่อเลี้ยงประชากรของประเทศหรือเพื่อส่งออกไปจำ หน่ายในต่างประเทศ ซึ่งปัจจุบันมีการนำ
� 2)�สื่อโสตทัศนูปกรณ์�เป็นสื่อที่จะช่วยเสริมความรู้ของนักเรียน โดยการสอนทางโทรทัศน์ เทคโนโลยีอาหารมาใช้ในการประกอบอาหารและเก็บรักษาอาหารในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้อาหาร
ใช้เทปเสียงบรรยาย วีดิทัศน์ หรือออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียง คงสภาพความสดใหม่ และสงวนคุณค่าอาหารไว้ได้นาน โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการแปรรูป
3)�สื่ออิเล็กทรอนิกส์และระบบโทรคมนาคม ใช้ระบบดาวเทียมและท่อใยแก้วในการส่ง ผลผลิตทางการเกษตรเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร ซึ่งมีความสำ คัญอย่างยิ่งเพราะมูลค่าของผลิตภัณฑ์
ข้อมูลข่าวสารโดยมีการนำ คอมพิวเตอร์มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อาหารจะสูงกว่าผลิตผลทางการเกษตร เทคโนโลยีอาหารที่สำ คัญมีดังนี้
ตัวอย่างการศึกษาทางไกลในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1. เทคโนโลยีการถนอมอาหารโดยการพาสเจอร์ไรซ์และการสเตอริไลซ์ เป็นการใช้ความ
ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ใช้สื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก และมีสื่อเสริม คือ ร้อนในระดับอุณหภูมิต่าง ๆ เพื่อช่วยถนอมอาหาร โดยใช้ความร้อนทำ ลายจุลินทรีย์และเอนไซม์
รายการวิทยุกระจายเสียงและรายการโทรทัศน์ ซึ่งทางมหาวิทยาลัยจะจัดการสอนเสริมให้เป็น ที่ให้โทษและเป็นสาเหตุให้อาหารเน่าเสีย รวมทั้งพยาธิและแมลงต่าง ๆ ที่ไม่สามารถทนต่อความ
บางครั้ง เพื่อเปดโอกาสให้อาจารย์และนักศึกษาได้พบปะกันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถามข้อสงสัย ร้อนได้ ซึ่งการถนอมอาหารโดยใช้ความร้อนนี้สามารถทำ ได้ 2 วิธี คือ การพาสเจอร์ไรซ์และการ
หรือขอคำ อธิบายเพิ่มเติมจากอาจารย์ ส เตอริไลซ์
4. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted/Aided Instruction) หรือ CAI เป็นการ 1)�การพาสเจอร์ไรซ์� (Pasteurization)� ใช้ความร้อนที่อุณหภูมิต่ำ กว่าจุดเดือด โดยมี
นำ คอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อเป็นสื่อช่วยสอนในชั้นเรียนปกติ หรือให้นักเรียน วัตถุประสงค์เพื่อทำ ลายจุลินทรีย์ที่ไม่สร้างสปอร์และก่อให้เกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับอาหาร แต่จะไม่
ใช้สำ หรับศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่นำ มาใช้มี ทำ ลายจุลินทรีย์ชนิดอื่น ๆ ที่อาจทำ ให้อาหารบูดเสีย ดังนั้น อาหารที่ผ่านการพาสเจอร์ไรซ์แล้ว
3 รูปแบบ ได้แก่ จะต้องเก็บรักษาโดยใช้ความเย็นทันที ซึ่งวิธีการพาสเจอร์ไรซ์ทำ ได้ 2 ระบบ คือ
1)�ใช้ในการสอนเนื้อหา�เป็นรูปแบบที่ออกแบบโครงสร้างหลัก (1) ระบบช้าอุณหภูมิต่ำ หรือ LTLT (Low Temperater Long Time) เป็นระบบที่ใช้
เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนในด้านเนื้อหาสาระ ประกอบด้วยส่วนนำ เข้า ความร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 60 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที แล้วทำ ให้เย็นทันที โดยเก็บไว้ใน
สู่บทเรียน ส่วนเสนอเนื้อหา ส่วนคำ ถาม ส่วนประเมินผล และส่วน ตู้เย็น ระยะเวลาในการเก็บประมาณ 3–7 วัน วิธีนี้ง่ายสามารถทำ ได้ในครัวเรือนของตนเอง
เสริมการเรียนรู้ ผลิตภัณฑ์อาหารที่นิยมนำ เทคโนโลยีนี้มาใช้ เช่น การทำ น้ำ ตาลสด น้ำ อ้อย น้ำ องุ่นบรรจุถุงพลาสติก
� 2)�ใช้ในการฝกทักษะ เป็นรูปแบบที่ออกแบบโครงสร้างหลัก การนำ�คอมพิวเตอร์มาใช้ เป็นต้น
ในการเรียนการสอน
เพื่อให้นักเรียนได้ฝกทักษะที่ได้จากการเรียน การเตรียมแบบฝกทักษะ (2) ระบบช้าอุณหภูมิสูงหรือ HTLT (High
จะต้องทำ หลายลักษณะ เช่น แบบเลือกตอบ แบบเติมคำ แบบจับคู่ เป็นต้น Temperater Long Time) เป็นระบบที่ใช้ความร้อนที่มี
3)�ใช้ในการสร้างสถานการณ์จำ�ลอง เป็นรูปแบบที่ออกแบบเพื่อช่วยเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ อุณหภูมิประมาณ 72–85 องศาเซลเซียส นาน 15 วินาที
การเรียนการสอนให้น่าสนใจมากยิ่งขึ้น โดยกำ หนดสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องให้นักเรียนเกิดความ แล้วท�าให้เย็นลงทันที ซึ่งจะใช้เวลาในการให้ความร้อนน้อยมาก
รู้สึกเหมือนอยู่ในสถานการณ์นั้นจริง ๆ เช่น การสร้างสถานการณ์การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยี เพื่อรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารที่
ในชีวิตประจำ วัน เป็นต้น นิยมน�าเทคโนโลยีนี้มาใช้ เช่น นมพาสเจอร์ไรซ์ ไวน์ เบียร์
เป็นต้น นมพาสเจอร์ไรซ์