Page 281 - เล่มหลักสูตรTNW2564
P. 281

หลักสูตรโรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560)   หน้า 277

                                          คำอธิบายรายวิชา  ส31103  ประวัติศาสตรY 1
               รายวิชาพื้นฐาน                                 กลุ<มสาระการเรียนรูCสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

               ชั้นมัธยมศึกษาปHที่ 4  ภาคเรียนที่ 1               เวลา 20 ชั่วโมง      จำนวน 0.5 หน<วยกิต


                        ศึกษา วิเคราะหNความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรNที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ

               มนุษยชาติ ตัวอย)างเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรNของสังคมมนุษยNที่มีปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตรN

               ไทยและประวัติศาสตรNสากล ความหมาย คุณค)า และประโยชนNของวิธีการทางประวัติศาสตรNที่มีต)อการศึกษาทาง
               ประวัติศาสตรN ใช2วิธีการทางประวัติศาสตรNตามลำดับขั้นตอนอย)างเปYนระบบในการสืบค2นเรื่องราวที่ตนสนใจ

               จัดทำผลการศึกษาหรือโครงงานทางประวัติศาสตรN สร2างองคNความรู2ใหม)ทางประวัติศาสตรN

                        วิเคราะหNประเด็นสำคัญของประวัติศาสตรNไทยเช)น แนวคิดเกี่ยวกับความเปYนมาของชาติไทย อาณาจักร
               โบราณในดินแดนไทยและอิทธิพลที่มีต)อสังคมไทย ปRจจัยที่มีผลต)อการสถาปนาอาณาจักรไทยในช)วงเวลาต)างๆ

               สาเหตุและผลของการปฏิรูปการปกครองบ2านเมือง การเลิกทาส การเลิกระบบไพร) การเสด็จประพาสยุโรปและหัว
               เมืองต)าง ๆ ในสมัยรัชกาลที่ 5

                        โดยใช2กระบวนการทักษะการอ)าน การสังเกต การวิเคราะหN การเชื่อมโยง การไต)สวน การตรวจสอบ
               การวิพากษNข2อมูล การตีความ การเปรียบเทียบ การแปลความ การสรุปอ2างอิง การให2เหตุผล และการนำเสนอ

               เพื่อให2มีความรู2ความเข2าใจถึงลักษณะของสังคมที่มีความสัมพันธNเชื่อมโยงหรือผลกระทบที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือ

               พัฒนาการในแต)ละช)วงเวลาและพื้นที่ที่แตกต)างกัน ใช2วิธีการทางประวัติศาสตรNในการศึกษาวิเคราะหNข2อมูลอย)าง
               เปYนระบบ

                        เพื่อให2ผู2เรียนเกิดความตระหนักตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริยNที่มีต)อสังคมไทย

               ตั้งแต)อดีตจนถึงปRจจุบัน รวมทั้งเห็นคุณค)า มีความรัก ความภาคภูมิใจ และมีส)วนร)วมในการอนุรักษNมรดกทาง
               วัฒนธรรมของชาติสืบไป เพื่อให2มีความรู2ความสามารถตามตัวชี้วัดต)อไปนี้



               ตัวชี้วัด
                        ส 4.1 ม.4-6/1            ส 4.1 ม.4-6/2

                        ส 4.3 ม.4-6/1            ส 4.3 ม.4-6/2
               รวม  4  ตัวชี้วัด
   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286