Page 82 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 82
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
3) ชั้นข้อมูล (Layer) ต่างๆ จะต้องประกอบไปด้วยข้อมูลอย่างน้อย ได้แก่ ชื่อ ประเภท และต าแหน่ง
ข้อมูลในรูปแบบของจุด (point), เส้น (line), หรือพื้นที่ (polygon) บนแผนที่
4) ข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย (Attribute) ที่เป็นตัวหนังสือ (Text) ต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5) ชั้นข้อมูล (Layer) ต่างๆ มีการใช้สัญลักษณ์ สี หรือตัวอักษร ที่สามารถแยกแยะ และง่ายต่อการ
เข้าใจ
6) ระบบพิกัดของแผนที่ที่ส่งมอบต้องใช้ระบบพิกัด UTM บนพื้นหลักฐาน WGS84 หรือ ตามความ
ต้องการของผู้ใช้งาน Geographic Coordinate (Latitude, Longitude)
7) ชุดข้อมูลแผนที่ฐานความละเอียดสูงประกอบด้วยชั้นข้อมูลและรายละเอียดข้อมูลอย่างน้อย ดังนี้
- เขตการปกครอง (ขอบเขตการปกครองระดับ/จังหวัด/อ าเภอและต าบล จ านวน
ประชากรชาย หญิง จ านวนครัวเรือน และรหัสเขตการปกครอง)
- เขตเทศบาล (ชื่อและประเภท)
- ถนน (เส้นคู่) (ชื่อถนน ความกว้างของถนน จ านวนช่องการจราจร ชื่อสะพาน และ
ประเภทถนน ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดิน ถนนเทศบาล ทางหลวงชนบท ถนนชนบท ซอย)
- เส้นทางด่วน ทางยกระดับ ทางพิเศษ (ชื่อ)
- เส้นทางรถไฟฟ้า รถไฟฟ้าใต้ดิน (ชื่อและประเภททางรถไฟฟ้า ได้แก่ บีทีเอส เอ็มอาร์ที
แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ บีอาร์ที เป็นต้น)
- ต าแหน่งทางแยก (ชื่อทางแยก ประเภททางแยก ได้แก่ วงเวียน สี่แยก ฯลฯ)
- ขอบเขตแม่น้ าและคลอง (ชื่อและประเภทได้แก่ แม่น้ า คลอง สระ บ่อน้ า)
- ต าแหน่งสถานที่ส าคัญ (ชื่อและประเภทได้แก่ หน่วยงานราชการ ห้างสรรพสินค้า
สถานที่ท่องเที่ยว เป็นต้น)
- ขอบเขตสถานที่ส าคัญ (ชื่อประเภท ได้แก่ สนามบิน วัด ห้างสรรพสินค้า ฯลฯ)
- เขตอุทยานแห่งชาติ (ชื่อเขตพื้นที่อุทยาน)
3.5 กำรจัดท ำเกณฑ์ ปัจจัยใช้ในกำรวิเครำะห์
จัดท าเกณฑ์ ปัจจัยใช้ในการวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ (Potential Area)
ในการพัฒนาอุตสาหกรรม และเป็นแนวทางเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ตลอดจนแก้ปัญหา
ให้การพัฒนาอุตสาหกรรมระดับประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
โดยแนวทางการวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ สามารถใช้เทคนิคการสร้าง
แบบจ าลองเชิงพื้นที่ด้วยวิธีการให้ค่าน้ าหนักและค่าล าดับชั้นแบบ Simple Additive Weighting (SAW) และแบบ
Analytic Hierarchy Process (AHP) ที่มีขั้นตอนในการพิจารณาตามกลุ่มปัจจัยที่เกี่ยวข้องและข้อก าหนดต่างๆ
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 3 - 9