Page 87 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 87

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม


                                      (5)  หาค่า Consistency Index: CI ด้วยสมการต่อไปนี้


                                                                         (  −  )
                                                                       =
                                                                         (  −1)

                                      (6)  หาค่า Consistency Ratio: CR ด้วยสมการต่อไปนี้



                                                                             
                                                                     =
                                                                             


                                    โดยค่า RI คือ ค่า Random consistency index ซึ่งได้จากการอ่านค่าจากตารางที่ 3.5-3

                  ตำรำงที่ 3.5-3 ค่า random consistency index


                                            n       RI      n       RI      n      RI
                                             1     0.00     6     1.24     11     1.51

                                             2     0.00     7     1.32     12     1.48

                                             3     0.58     8     1.41     13     1.56
                                             4     0.90     9     1.45     14     1.57

                                             5     1.12     10    1.49     15     1.59


                         ทั้งนี้ หากค่า CR น้อยกว่า 0.1 ก็สามารถน้าค่าถ่วงน้้าหนักปัจจัยไปใช้ได้ แต่ถ้าค่า CR มากกว่า 0.1

                  ต้องด้าเนินการปรับตัวแปรและถ่วงน้้าหนักใหม่อีกครั้ง ส าหรับการก าหนดค่าถ่วงน้ าหนักจะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขและ

                  ข้อจ ากัดของทุกตัวแปร


                                4)  การแปลผลข้อมูล โดยการแปลผลข้อมูลสามารถด าเนินการได้ 2 วิธี คือ
                                        (1) การแปลผลข้อมูลจากระดับศักยภาพในการพัฒนาด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะได้

                  จากการน าค่าถ่วงน้ าหนักของแต่ละกลุ่มปัจจัยและค่าคะแนนของแต่ละตัวแปรย่อย ทั้งหมดมาวิเคราะห์ร่วมกัน

                  ด้วยการอ่านค่าจากระดับศักยภาพในการพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาเป็นโรงงานอุตสาหกรรม โดยใช้ค่าเฉลี่ย
                  (        :   ̅) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (                                   :     ) เป็นเกณฑ์ โดยมีเกณฑ์การ

                  วิเคราะห์ ดังนี้







                  ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์                            หน้า 3 -  14
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92