Page 85 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 85
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
ขั้นตอนในการพิจารณาตามกลุ่มปัจจัยที่เกี่ยวข้องและข้อก าหนดต่างๆ ด้านการพัฒนาเพื่อที่อยู่อาศัย กล่าวคือ การ
ก าหนดค่าน้ าหนักและค่าล าดับชั้นแบบถ่วงน้ าหนักอย่างง่าย Simple Additive Weighting (SAW) (Malczewski,
1999) เป็นการก าหนดค่าน้ าหนักและค่าล าดับชั้นข้อมูลของตัวแปรโดยผู้เชี่ยวชาญที่มีได้รับความนิยมเพราะมีความ
ซับซ้อนน้อยที่สุด โดยใช้ร่วมกับหลักเกณฑ์แบบ Analytical Hierarchy Process (AHP) (Saaty, 1996) อันเป็น
กระบวนการที่ช่วยในการตัดสินใจปัญหาที่มีความซับซ้อนให้มีความง่ายมากยิ่งขึ้น
ทั้งนี้ อาจกล่าวได้ว่ากระบวนการวิเคราะห์ดังกล่าว เป็นการเลียนแบบกระบวนการตัดสินใจทางธรรมชาติ
ของมนุษย์ ด้วยการเปรียบเทียบทางเลือกทีละคู่ (Pairwise) เพื่อให้ง่ายต่อการตัดสินใจว่าเกณฑ์ไหนมีความส าคัญ
กว่ากันโดยให้คะแนนตามความส าคัญ แล้วจึงพิจารณาวิเคราะห์ทางเลือกทีละคู่ตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ทีละเกณฑ์
ถ้าการให้คะแนนความส าคัญสมเหตุสมผล (Consistency) จึงน าค่าคะแนนนั้นไปใช้ในการวิเคราะห์ต่อได้ ผลจาก
การวิเคราะห์จะใช้รูปแบบตาราง Pairwise comparison matrix เพื่อเปรียบเทียบว่าปัจจัยไหนมีค่าความส าคัญ
มากกว่ากัน โดยการก าหนดค่าถ่วงน้ าหนักความส าคัญของปัจจัยด้วย AHP มีขั้นตอนส าคัญ 3 ขั้นตอน คือ
1) การเปรียบเทียบคู่ (Pairwise Comparisons) ด้วยการสร้างตาราง Pairwise comparison
matrix ดังตัวอย่างตารางที่ 3.5-1
ตำรำงที่ 3.5-1 ตารางเปรียบเทียบเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเป็นคู่
ชั้นข้อมูล
F1 F2 F3 F4 F5
F1 F 11 F 12 F 13 F 14 F 15
F2 F 21 F 22 F 23 F 24 F 25
F3 F 31 F 32 F 33 F 34 F 35
ชั้นข้อมูล F4 F 41 F 42 F 43 F 44 F 45
F5
F 51
F 53
F 52
F 55
F 54
2) การค านวณค่าน้ าหนัก (Weight Calculation) ด้วยการให้ค่าคะแนนความส าคัญของปัจจัย
หลักหรือปัจจัยย่อย โดยผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ท าการเปรียบเทียบระดับความส าคัญของคู่ปัจจัยด้วยคะแนนมาตราส่วน
มูลฐาน ดังตารางที่ 3.5-2
ตำรำงที่ 3.5-2 ตารางเปรียบเทียบระดับความส าคัญของคู่ปัจจัยด้วยคะแนนมาตราส่วนมูลฐาน
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 3 - 12