Page 84 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 84
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
3) สัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และนักวิชาการ อย่างน้อย
อุตสาหกรรมละ 3 คน เพื่อเป็นข้อมูลในการก าหนดเกณฑ์ ปัจจัยและวิธีการวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขันของ
อุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ (Potential Area) ในการพัฒนาอุตสาหกรรม ส าหรับอุตสาหกรรมน าร่องตาม 2)
4) ศึกษา เกณฑ์ ปัจจัย และก าหนดแนวคิดในการวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขันของ
อุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ (Potential Area) ในการพัฒนาอุตสาหกรรม ส าหรับอุตสาหกรรมน าร่องที่คัดเลือกไว้ตาม
2) โดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ปัจจัยลักษณะพื้นที่ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสังคม อันได้มา
จากกรอบแนวคิดและวิธีการด าเนินการ
5) ที่ปรึกษาจะต้องเสนอแนะเกี่ยวกับความครบถ้วนสมบูรณ์ของฐานข้อมูลของส านักงาน
เศรษฐกิจอุตสาหกรรม ตลอดจนแหล่งที่มาของข้อมูลที่จ าเป็นต่อการวิเคราะห์ เพื่อให้ทางส านักงานเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม สามารถด าเนินการจัดหา และให้ที่ปรึกษาน าเข้าข้อมูล ในรูปแบบภูมิสารสนเทศ หรือรูปแบบอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้องของปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ต่อไป
6) จัดท าเครื่องมือส าหรับวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ ระยะน าร่อง
ซึ่งประกอบด้วยเกณฑ์ ปัจจัยและวิธีการวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ (Potential
Area) ในการพัฒนาอุตสาหกรรม ตามผลการศึกษา และแนวคิดที่ก าหนดขึ้นตาม 4) ส าหรับอุตสาหกรรมน าร่องที่
คัดเลือกไว้ตาม 2) โดยมีขั้นตอนการศึกษา ดังนี้
6.1) วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการกระจายตัวของอุตสาหกรรมย้อนหลัง 5 ปี
6.2) วิเคราะห์ท าเลที่ตั้งที่เหมาะสมกับการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาพรวม โดยไม่
เฉพาะเจาะจงประเภทอุตสาหกรรม
6.3) วิเคราะห์หาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อการแข่งขันของอุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ส าหรับ
อุตสาหกรรมน าร่องที่คัดเลือกไว้ตามข้อ 2) ซึ่งจะประกอบด้วยโครงสร้างหลักในการวิเคราะห์ 2 ส่วน กล่าวคือ การ
ออกแบบและก าหนดปัจจัยที่เหมาะสมส าหรับการวิเคราะห์พื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อการแข่งขันของอุตสาหกรรมเชิง
พื้นที่ และการก าหนดค่าน้ าหนักของปัจจัย
ในการศึกษาครั้งนี้ ที่ปรึกษาจะใช้เทคนิคกระบวนการการมีส่วนร่วมจากทางผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ร่วมกับ
การวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับที่ตั้งด้วยเทคนิค Pearson’s correlation
statistic ในการออกแบบและก าหนดปัจจัยที่เหมาะสมส าหรับการวิเคราะห์พื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อการแข่งขันของ
อุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ เพื่อเป็นการยืนยันว่าปัจจัยต่างๆ ที่น ามาใช้ในการศึกษาเป็นปัจจัยที่มีความเหมาะสม
สอดคล้องตามหลักการทางสถิติ
เมื่อด าเนินการวิเคราะห์หาปัจจัยที่เหมาะสมเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปก็จะท าการก าหนดค่าน้ าหนักของ
ปัจจัยโดยใช้เทคนิค Simple Additive Weighting (SAW) และแบบ Analytic Hierarchy Process (AHP) ที่มี
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 3 - 11