Page 72 - คู่มือหลักสูตรสาขาวิชาแมคคาทรอนิกส์ และคลัสเตอร์หุ่นยนต์
P. 72
การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
มาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์ และสาขาคลัสเตอร์หุ่นยนต์
0312 ถ่ายทอดความรู้ระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
การควบคุมหุ่นยนต์ (Robot Control) (sites.google.com, ม.ป.ป. [ออนไลน์])
การควบคุมหุ่นยนต์เป็นแบบอัตโนมัติทั้งหมดโดยไม่จ าเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการเขียน
โปรแกรม
กระบวนการอัตโนมัติ (Automation) เป็นหัวใจส าคัญในการแข่งขันโดยรวมในภาคอุตสาหกรรม
ทั้งส าหรับการเพิ่มผลผลิตในกระบวนการผลิตของตนเองเพื่อที่จะสามารถพัฒนาการใช้งาน พัฒนา
กลุ่มเป้าหมายและพัฒนาสาขาใหม่ ๆ ตลอดเวลา จ าเป็นที่จะต้องมีวิธีการแก้ปัญหาที่ชาญฉลาด เช่น
หุ่นยนต์อัจฉริยะที่สามารถจดจ าคุณสมบัติต่าง ๆ เช่น แรงและการเคลื่อนไหวได้ สามารถพิจารณาผลที่
เกิดขึ้นได้หรือสามารถสร้างโปรแกรมจากค าสั่งภาษา (Language-Command) ได้โดยอัตโนมัติ
คุณสมบัติเหล่านี้มุ่งให้เกิดคุณภาพที่ดีกว่า เพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้นและเพิ่มความสามารถของเครื่องจักรให้ดีขึ้น
แน่นอนว่าโดยปกติโปรแกรมเมอร์หรือผู้ใช้งานจะเป็นผู้เขียนโปรแกรมหรือเป็นผู้การควบคุม
การท างานของหุ่นยนต์ กระบวนการนี้ส่วนมากค่อนข้างจะยุ่งยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งมันท าให้เสียเวลา
เป็นอย่างมาก วิธีนี้เป็นวิธีท าให้หุ่นยนต์เรียนรู้เส้นทาง การเคลื่อนไหวและแรง หรือค่าจ ากัดต่าง ๆ
ภายหลังจากที่ทุกอย่างเรียบร้อยแล้วก็จะสามารถที่จะท าซ้ ากระบวนการหรือค่าต่าง ๆ ที่เรียนรู้ไว้ก่อน
หน้านี้บ่อยครั้งเท่าใดก็ได้โดยมีความแม่นย าสูง มันเพียงพอส าหรับภารกิจทั่ว ๆ ไป (Static Job) แต่
เงื่อนไขขอบเขต (Boundary Condition) และขั้นตอนแบบไดนามิกหรือแบบที่มีการเปลี่ยนแปลงเสมอ
ท าให้เห็นถึงความต้องการอื่น ๆ ในกระบวนการอัตโนมัติ (Automation) ส าหรับการท างานทางแมก
คานิกแบบง่าย ๆ สิ่งนี้สามารถที่จะเป็นการเบี่ยงเบนไปจากเส้นทางที่ถูกโปรแกรมไว้ได้ ขณะท าการ
ทดสอบแบบต่อเนื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงความต้านทานหรือความยืดหยุ่นของวัสดุ ส าหรับเงื่อนไข
เหล่านี้ ABB ได้คิดค้นพัฒนา Force-Control-Machinig-Solution (FC) ขึ้นมา ซึ่งใช้พื้นฐานของ
เซ็นเซอร์ที่มีความไวสูงที่ถูกติดตั้งเข้าไปในแขนของหุ่นยนต์และซอฟต์แวร์พิเศษ ระบบเซ็นเซอร์
ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงแรงที่ 10 นิวตัน ดังนั้นจึงท าให้เกิดฟังก์ชั่นการท างานที่ส าคัญบางอย่าง
และการใช้งานที่ส าคัญขึ้นมาได้
หุ่นยนต์โปรแกรมตนเอง
ฟังก์ชั่นซอฟต์แวร์ “Lead Through Teaching – Automatic Path Learning” สนับสนุน
ผู้ใช้งานในการโปรแกรมเส้นทาง (Path) แบบง่าย ๆ ตรงกันข้ามกับกระบวนการโปรแกรมมิ่งทั่ว ๆ ไป
ที่มีความยุ่งยาก อุปกรณ์ที่ควบคุมการท างานด้วยมือที่เรียกว่า Flex-Pendant และซอฟต์แวร์จะช่วย
ให้ผู้ใช้งานท างานได้ง่ายขึ้น เขาสามารถบรรลุเป้าหมายด้วยการคลิกเมาส์เพียงไม่กี่ครั้งโดยใช้การ
ติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphical User Interface) โดยผู้ใช้งานจะควบคุมหุ่นยนต์ด้วยมือไปยัง
ต าแหน่งที่ท างานอย่างคร่าว ๆ และป้อนค่านั้นให้เป็นจุดท างาน (Operating Point) ส าหรับการป้อน
รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์ หน้า 68