Page 10 - My FlipBook
P. 10
INFORMATION CORNER
ก�าลังการผลิต “พลังงานขยะ” ยังห่างไกล “พลังงานลม” ยังต้องพึ่งพากลไกการส่งเสริม
จากภาครัฐ แม้จะมีโอกาสสร้างรายได้ทางอ้อมจาก
พลังงานทดแทนอีกรูปแบบหนึ่งที่ต้องจับตา คือ “พลังงาน
ขยะ” เนื่องจากมีผู้ประกอบการให้ความสนใจเข้ามาลงทุนเพิ่มขึ้น คาร์บอนเครดิต
ประกอบกับก�าลังการผลิตในปัจจุบันยังอยู่ห่างไกลเป้าหมาย ส�าหรับ “พลังงานลม” แม้ว่าปัจจุบันผู้ประกอบการ
ที่วางไว้ ประกอบกับปัญหาขยะล้นเมืองที่ภาครัฐต้องการ นักลงทุนจะยังไม่ได้ให้ความสนใจมากนัก แต่ด้วยศักยภาพใน
ผลักดันให้เป็นวาระแห่งชาติที่ต้องรีบแก้ไขเป็นอีกเหตุผลหนึ่ง การผลิต เชื่อว่าในอนาคตผู้ประกอบการ นักลงทุนจะหันมา
ที่ท�าให้ภาครัฐเร่งรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนกลุ่มนี้เพิ่ม ลงทุนผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมมากขึ้น โดยการผลิตพลังงาน
มากขึ้น สะท้อนจากตัวโครงการพลังงานขยะที่ได้รับการเซ็น ไฟฟ้าจากพลังงานลมจะต้องมีเงินลงทุนเบื้องต้นสูงทั้งยังต้อง
สัญญาซื้อขายไฟฟ้า (Power Purchase Agreement-PPA) มองหาท�าเลศักยภาพที่มีปริมาณลมมากพอ ซึ่งจะมีเพียงบาง
ในช่วงปี 2559-2561 คิดเป็นมูลค่าลงทุนราว 17,000 ล้านบาท จังหวัดเท่านั้นที่มีก�าลังลมเหมาะสมในการผลิตไฟฟ้าได้อย่างมี
ซึ่งผู้ประกอบการเกี่ยวกับเทคโนโลยีและเครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง เสถียรภาพ และส่วนใหญ่จะอยู่ทางภาคใต้ของไทย ดังนั้น จึง
อาจจะได้รับอานิสงส์ในส่วนนี้ตามไปด้วย เป็นความท้าทายทางธุรกิจของผู้ประกอบการ รวมถึงภาครัฐที่
จะต้องแสดงให้เห็นถึงผลตอบแทนต่อการลงทุนที่จะได้รับใน
อัตราที่สูงเพียงพอที่จะลงทุนในพลังงานทดแทนกลุ่มนี้เพิ่มมากขึ้น
ผ่านกลไกการส่งเสริมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้ราคารับซื้อ
ในอัตราที่จูงใจ เงินกู้ดอกเบี้ยต�่า การให้สิทธิพิเศษทางภาษีหรือ
ความร่วมมือจากองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
อย่างไรก็ดี ผลตอบแทนทางธุรกิจที่จะได้รับจากการลงทุน
ในกลุ่มพลังงานเหล่านี้ จะพบว่า นอกจากรายได้ทางตรงที่
จะได้รับจากการขายกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ให้แก่การไฟฟ้าฯ
แล้ว ยังสามารถมีรายได้ทางอ้อมจากการขายคาร์บอนเครดิต
ผ่านกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM : Clean Development
Mechanism) ได้อีกด้วย
อย่างไรก็ดี พลังงานขยะยังมีข้อจ�ากัดในการจัดหาวัตถุดิบ จับตาธุรกิจ SME ที่ได้อานิสงส์จากสายการผลิต
ที่ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เนื่องจากการผลิตไฟฟ้า 1 เมกะ จากการที่ภาครัฐและภาคส่วนต่างๆ หันมาส่งเสริมและ
วัตต์ จะต้องใช้ขยะที่มีศักยภาพถึง 100 ตัน/วัน ซึ่งแหล่งขยะ สนับสนุนให้เกิดการลงทุนในกลุ่มพลังงานทดแทนมากขึ้น เป็น
ในประเทศไทยที่มีอยู่มีปริมาณขยะไม่เพียงพอ อีกทั้ง คุณภาพ อีกหนึ่งโอกาสส�าหรับ SME ที่จะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสาย
ของการคัดแยกขยะก็ยังอยู่ในระดับต�่า ดังนั้น การเลือกใช้ การผลิต (Value Chain) ในธุรกิจประเภทนี้ได้ โดยกลุ่มธุรกิจ
เทคโนโลยีเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจึงต้องมีความเหมาะสม และ ที่มีโอกาสจะเติบโตไปพร้อมกับธุรกิจพลังงานทดแทน
คุ้มค่าในการลงทุน หากเลือกใช้ไม่เหมาะสมก็อาจส่งผลกระ
ทบทางสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะมลพิษในอากาศ และท้ายที่สุด จากข้างต้นจะเห็นได้ว่า ท่ามกลางราคาน�้ามันที่ยังมี
จะต้องได้รับความเห็นชอบด้านสิ่งแวดล้อมจากภาคประชาชน แนวโน้มไม่เร่งตัวสูงแต่ภาพรวมของธุรกิจพลังงานทดแทนใน
ร่วมด้วยจึงจะสามารถท�าการเสนอขายไฟฟ้าให้กับ กฟผ. ได้ ปีนี้ ยังพอมีโอกาสเติบโตได้จากแรงหนุนความต้องการใช้ไฟฟ้า
ที่มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
DECEMBER 2016 : 10 TTG SOLUTION