Page 10 - สมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ
P. 10

ประวัติศาสตร์   ม. ๓  หน่วยการเรียนที่ ๓   ประวัติศาสตร์ไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ                      ๙


               การปรับปรุงกฎหมายและการศาล

                         โปรดฯ ให้รวบรวมศาลที่สังกัดกระทรวงและไม่สังกัดทั้งหมด มาขึ้นกับกระทรวงยุติธรรมนับว่าเป็นการแยก
               อ านาจ ตุลาการ ออกจาก ฝุายบริหารได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทย

               สิ่งที่ปรับปรุงแก้ไขทางด้านการศาลมีดังนี้
               ๑. ศาลในกรุง

               โปรดฯ ให้ตั้ง ศาลโปริสภา ส าหรับท าหน้าที่เปรียบเทียบคดีความวิวาทของราษฎรที่เกิดขึ้นในท้องที่ และเป็นคดีที่มี

               โทษขนาดเบา ต่อมา ศาลโปริสภา ได้เปลี่ยนเป็น ศาลแขวง เมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๔๗๘


               ๒. ศาลหัวเมือง
               โปรดฯ ให้จัดตั้งกองข้าหลวงพิเศษ ขึ้นคณะหนึ่งมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (พระองค์เจ้า

               รพีพัฒนศักดิ์) เป็นประธาน จัดการแก้ไขธรรมเนียมศาลยุติธรรมทั่วพระราชอาณาจักร ให้เป็นแบบเดียวกันทั้งหมด

                      ๒.๑ จัดตั้งศาลยุตธรรมส าหรับพิจารณาคดีขึ้นตามหัวเมืองทั้งปวงเสียใหม่
                      ๒.๒ ช าระสะสางคดีความที่ค้างอยู่ในศาลตามหัวเมืองต่าง ๆ ให้หมดสิ้นไป



               ๓. จัดแบ่งชั้นของศาล
               เพื่อให้ระเบียบการศาลยุติธรรมมีความเป็นระเบียบเรียบร้อบเป็นหลักฐานมั่งคง ยิ่งขึ้น ก็โปรดฯให้ตราพระธรรมนูญ

               ศาลยุติธรรม ขึ้นเมื่อ ๑ มิถุนายน ๒๔๕๑ โดยแบ่งศาลออกเป็น ๓ แผนก คือ
                    ๓.๑ ศาลฎีกา

                    ๓.๒ ศาลสถิตยุติธรรมกรุงเทพฯ

                    ๓.๓ ศาลหัวเมือง
               สิ่งที่ปรับปรุงแก้ไขทางด้านกฎหมายมีดังนี้

                    ๑. ได้จ้างชาวต่างประเทศที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านกฎหมาย
                    ๒. ได้โปรดฯให้ตั้ง กองร่างกฎหมาย ส าหรับท าหน้าที่ตรวจสอบช าระบรรดาพระราชก าหนดกฎหมาย

               ต่าง ๆ เพื่อให้ได้ ตัวบทกฎหมายที่ทันสมัยตามแบบอารยประเทศ โดยมีกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์เป็นประธาน

                    ๓. ตั้งโรงเรียนสอนวิชากฎหมายขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐ โดยมีกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ เสนาบดี
               กระทรวง ยุติธรรมเป็นผู้อ านวยการ ด้วยเหตุนี้ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ จึงได้รับการว่าเป็น พระบิดาแห่ง

               กฎหมายและการศาลไทย

                    ๔. ยกเลิกการลงโทษแบบจารีตนครบาล จากผลการปฏิรูปการศาลและการช าระกฎหมายให้ทันสมัย ท าให้ การ
               พิจารณาคดีแบบจารีตและวิธีลงโทษแบบปุาเถื่อนทารุณต่าง ๆ ได้ถูกยกเลิกไปโดยสิ้นเชิง

               การทหาร


                                                                                      ครูผู้สอน คุณครูจิราพร  พิมพ์วิชัย
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15