Page 23 - สมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ
P. 23

ประวัติศาสตร์   ม. ๓  หน่วยการเรียนที่ ๓   ประวัติศาสตร์ไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ                      ๒๒


               ปรับปรุงกระทรวงโยธาธิการแล้วเปลี่ยนชื่อเป็น กระทรวงคมนาคม

               โอนกรมธรรมการไปขึ้นกับกระทรวงวัง แล้วเปลี่ยนชื่อกระทรวงธรรมการเป็น กระทรวงศึกษาธิการ
               รวมกระทรวงนครบาลเข้ากับกระทรวงมหาดไทย

               สร้างสนาม บินดอนเมือง และ ตั้งกองบิน ขึ้นเมื่อ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ ให้มีฐานะเทียบเท่า กรม สังกัด
               กองทัพบก ต่อมาได้ขยายงานมาเป็น กรมอากาศยาน แล้วกลายมาเป็น กองทัพอากาศ



                         การปรับปรุงการระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
               โปรดให้รวมมณฑลที่อยู่ใกล้กันจัดตั้งเป็น ภาค แต่ละภาคมี อุปราช มีอ านาจตรวจตราเหนือ สมุหเทศาภิบาลในภาค

               นั้น ๆ และยังท าหน้าที่เป็นสมุหเทศาภิบาลประจ ามณฑลซึ่งตั้งเป็นส านักงานภาคนั้นด้วย ต าแหน่ง อุปราช และ
               สมุหเทศาภิบาล ขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์ ไม่ต้องขึ้นต่อกระทรวงมหาดไทย

               ส่วนกรุงเทพฯ ซึ่งมีศักดิ์เสมอด้วยมณฑลหนึ่งนั้น ให้มีสมุหเทศาภิบาล เป็นหัวหน้าขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย

               โปรดให้เปลี่ยนชื่อ เมือง เป็น จังหวัด


               การวางรากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย

                    ทรงให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนอย่างมาก ประจักษ์พยานที่ส าคัญก็คือทรงยอมรับการวิจารณ์จากนักเขียนและ
               นักหนังสือพิมพ์ ที่เขียนบทความกล่าวโจมตีรัฐบาล



                    พระองค์ได้วางแผนให้ข้าราชการของพระองค์รู้จักการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยจัดสร้างนครจ าลองขึ้น
               เพื่อฝึกฝนให้ข้าราชบริพารของพระองค์ ให้ได้รู้จักและเข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตย พระราชทานนามว่า

               ดุสิตธานี เหตุการณ์ ร.ศ. ๑๓๐

                    เมื่อรัชกาลที่ ๖ ขึ้นครองราชย์ มีคณะบุคคลกลุ่มหนึ่ง ประกอบด้วย ทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ต้องการที่
               จะเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบประชาธิปไตย แต่ท าไม่ส าเร็จ  ท าให้ คณะปฏิวัติ ถูกจับกุม ถูกศาลตัดสินให้

               ประหารชีวิต รวม ๓ คน แต่รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชทานอภัยโทษ และถูกปล่อยตัวทั้งหมดภายหลัง
               การปรับปรุงกฎหมายและการศาล

                    ๑. จัดระเบียบการศาลใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ โดยให้แยกหน้าที่ราชการในกระทรวงยุติธรรมออกเป็น ฝุายธุรการ

               และฝุายตุลาการ และให้ศาลฎีกามาสังกัดกระทรวงยุติธรรม และ ได้โปรดให้ตั้งต าแหน่งอธิบดีศาลฎีกา ขึ้น
                    ๒. ประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นครั้งแรก

               ส่งเสริมวิชาการกฎหมาย ให้ยกฐานะโรงเรียนกฎหมายที่ตั้งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ ให้เป็นโรงเรียนหลวงสังกัด
               กระทรวงยุติธรรม โปรดให้ตั้ง สภานิติศึกษา ขึ้น มีหน้าที่ส าหรับจัดระเบียบกับวางหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียน







                                                                                      ครูผู้สอน คุณครูจิราพร  พิมพ์วิชัย
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28