Page 4 - เหตุการณ์สำคัญสมัยรัตนโกสินทร์
P. 4

ประวัติศาสตร์   ม. ๓       เหตุการณ์ส าคัญสมัยรัตนโกสินทร์        ผู้สอน ครูจิราพร  พิมพ์วิชัย   3


                         o  เก็บภาษีขาเข้าได้ไม่เกินร้อยละ ๓

                         o  พ่อค้าอังกฤษและพ่อค้าไทยมีสิทธิค้าขายกันได้โดยเสรี
                         o  สินค้าต้องห้าม ได้แก่ ข้าว  ปลา  เกลือ

                         o  ถ้าไทยท้าสนธิสัญญากับประเทศอื่น ๆ  ที่มีผลประโยชน์เหนือประเทศ อังกฤษ  จะต้องท้าให้อังกฤษ
                            ด้วย

                         o  สนธิสัญญานี้ จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้  จนกว่าจะใช้แล้ว  ๑๐  ปี  และในการแก้ไข ต้องยินยอม

                            ด้วยกันทั้งสองฝุาย และต้องบอกล่วงหน้า ๑ ปี
                 ๔.  ผลของสนธิสัญญาเบาว์ริง

                         o  ผลดี
                                1.  รอดพ้นจากการเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ

                                2.  การค้าขยายตัวมากขึ้น เปลี่ยนแปลงการค้าเป็นแบบเสรี

                                3.  อารยธรรมตะวันตก เข้ามาแพร่หลาย  สามารถน้ามาปรับปรุงบ้านเมือง ให้เจริญก้าวหน้ามา
                                   ขึ้น

                         o  ผลเสีย

                                1.  ไทยเสียสิทธิทางการศาลให้อังกฤษ และคนในบังคับอังกฤษ
                                2.  อังกฤษ เป็นชาติที่ได้รับสิทธิพิเศษหลายอย่าง

                                3.  อังกฤษ เป็นฝุายได้เปรียบ จึงไม่ยอมท้าการแก้ไข
                        ผลจากการท้าสนธิสัญญาเบาว์ริง ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ท้าให้สภาพสังคมไทย เปลี่ยนแปลง ทั้งในด้านการ

              ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม  เพื่อน้าประเทศให้เจริญก้าวหน้า ตามแบบอารยธรรมตะวันตก  การ

              เปลี่ยนแปลง   ในด้านต่าง ๆ   มีดังนี้
                 ๑.  ด้านการปกครอง  ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงแก้ไขเปลี่ยนแปลงประเพณีบางอย่าง เพื่อให้ราษฎร มีโอกาสใกล้ชิด

                     กับพระมหากษัตริย์  คือ  เปิดโอกาสให้ราษฎร เข้าเฝูาได้โดยสะดวก  ให้ราษฎรเข้าเฝูาถวายฎีการ้องทุกข์ได้
                     ในขณะที่ทรงเสด็จพระราชด้าเนิน  ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้มีการปฏิรูปการปกครอง ครั้งส้าคัญ  โดย

                     แบ่งเป็น  ๒  ระยะ  คือ  การปรับปรุงในระยะแรก ให้ตั้งสภา ๒ สภา คือ สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน

                     (Council of State) และ สภาที่ปรึกษาในพระองค์ (Privy Council) กับการปรับปรุงการปกครอง ในระยะ
                     หลัง (พ.ศ. ๒๔๓๕)  ซึ่งนับว่า เป็นการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่ โดยมีลักษณะ คือ  การปกครอง

                     ส่วนกลาง  โปรดให้ยกเลิกการปกครอง แบบจตุสดมภ์ และ จัดแบ่งหน่วยราชการเป็นกรมต่าง ๆ  ๑๒ กรม

                     (กะรทรวง) มีเสนาบดีเป็นเจ้ากระทรวง  การปกครองส่วนภูมิภาค  ทรงยกเลิก การจัดหัวเมืองที่แบ่งเป็นเมือง
                     ชั้นเอก  โท  ตรี  และจัตวา เปลี่ยนการปกครองเป็น เทศาภิบาล  ทรงโปรดให้รวมเมืองหลายเมืองเป็นมณฑล

                     มีข้าหลวงเทศาภิบาล เป็นผู้ปกครอง ขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย  กับทรงแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคเป็น

                     จังหวัด (เมือง) อ้าเภอ ต้าบล และหมู่บ้าน  และการปกครองส่วนท้องถิ่น  เริ่มจัดการทดลองแบบ สุขาภิบาล
                     ขึ้นเป็นครั้งแรก

              ๒. การปฏิรูปกฎหมายและการศาล  ในรัชกาลที่ ๔  ทรงตรากฎหมายขึ้นหลายฉบับ  เพื่อให้ทันสมัยและเหมาะสมกับ
              สภาพบ้านเมือง  เช่น  กฎหมายเกี่ยวกับมรดก  สินสมรส  ฯลฯ  ในสมัยรัชกาลที่ ๕  การปฏิรูปกฎหมายและการศาล
   1   2   3   4   5   6   7   8   9