Page 10 - NUT
P. 10
สาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำาปีการศึกษา ๒๕๖๐ [ปากตลาด เล่มที่ ๑๔]
การเริ่มต้นใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้นไม่ได้บอกให้คุณไปท�าฟาร์ม ท�าไร่ ไถนา แต่ปรัชญานี้เป็นแนวทาง
ในการใช้ชีวิตที่จะน�าไปสู่ความสุขและความพอประมาณ การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ ๙ ได้คิด
ปรัชญานี้ขึ้นมาเพื่อให้คนไทยเข้าใจถึงการอยู่ร่วมกันโดยที่ทุกคนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในปัจจุบันนี้โลกได้เดินทาง
มาสู่แห่งเทคโนโลยีที่ท�าให้เราเข้าถึงได้ทุกอย่างแต่ความสัมพันธ์นั้นกลับน้อยลง ผู้คนในตอนนี้ต่างก้มหน้าและอยู่ในมุม
ของตัวเอง สนใจคนรอบข้างน้อยลง และให้ความส�าคัญกับเทคโนโลยี ผู้คนบางส่วนนั้นไม่ได้ใช้สิ่งเหล่านี้ให้เกิดประโยชน์
เพียงแต่เสพติดมันเท่านั้น
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีองค์ประกอบอยู่ ๓ อย่าง ๒ เงื่อนไข เป็นสิ่งที่เรานั้นรู้กันอยู่ แต่สิ่งที่เรารู้นั้น
หากเราไม่น�าไปใช้มันก็ไร้ซึ่งความหมาย บางคนนั้นอาจอ้างเสมอว่าตนเองนั้นไม่สามารถท�าได้ โดยที่ไม่รู้เลยว่าแท้จริง
แล้วตนเองท�าได้หรือไม่ได้ แค่เพียงอ้างไปเพราะไม่อยากที่จะท�าอะไรที่ดูเป็นการเดือดร้อนตนเองก็เท่านั้น ซึ่งองค์ประกอบ
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้นเราสามารถใช้ได้ทุกข้อในชีวิตจริง แล้วท�าไมเราไม่เริ่มต้นน�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ไปลองใช้
ในทางผู้เขียนเองก็ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าตนเองไม่ใช้เทคโนโลยี แต่ตัวผู้เขียนก็เป็นคนที่เสพติดสิ่งเหล่านี้
เช่นกัน เพียงแต่การที่จะเอาแต่ก้มหน้า ผมจึงเลือกที่จะวางมือถือลงบ้างและใช้อย่างพอประมาณ ใช้เทคโนโลยีอย่าง
มีเหตุผล ไม่ใช่ใช้อย่างบ้าระห�่า การวางมือถือลงบ้างท�าให้เรามีเวลาที่จะคิดสิ่งต่างๆ มากกว่าที่จะหลงใหลและจมไปกับ
สื่อต่างๆ ที่มีอยู่ แต่เทคโนโลยีนั้นก็มีข้อดีที่ท�าให้เราแสวงหาความรู้จากสิ่งเหล่านี้ได้เช่นกัน บางคนเปรียบเสมือนโรงเรียน
ที่เก็บเกี่ยวความรู้ และบางคนก็มองว่ามันเปรียบเสมือนช่องทางท�ามาหากินที่สามารถท�าได้ตามเงื่อนไขความรู้ และเรานั้น
ต้องไม่ใช้ความรู้ที่มีในการคดโกงผู้อื่นด้วยตามเงื่อนไขคุณธรรม
สุดท้ายนี้ผู้เขียนอยากบอกถึงผู้อ่านว่า “…การที่เราอยากเดินตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น ไม่จ�าเป็น
ต้องท�าตามใคร แต่จงท�าด้วยความรู้สึกของตัวเอง...”
ขอขอบคุณข้อมูลและภาพจาก
http://www.chaipat.or.th/site_content/34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html
{ 6 }