Page 9 - NUT
P. 9
สาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำาปีการศึกษา ๒๕๖๐ [ปากตลาด เล่มที่ ๑๔]
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในปัจจุบันที่ใคร ๆ ก็น�าไปใช้ได้
ภูธฤต ขัดบุญเรือง
“...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่เรา
อยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบ และท�างานตั้งจิตอธิษฐาน
ตั้งปณิธานในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน
มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้...” (๔ ธันวาคม
๒๕๑๗) ครั้งหนึ่งที่ผู้เขียนได้อ่านพระบรมราโชวาทนี้ ผู้เขียนได้รู้สึกถึงความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เรา
สามารถน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวันได้จริงในแบบของเรา โดยความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ
ดังนี้
๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อย ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมี เงื่อนไข ของการ
เกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ ตัดสินใจและด�าเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง
ผู้อื่น ๒ ประการ ดังนี้
๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับ ๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับ
ความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย วิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยจะน�าความรู้เหล่านั้นมา
พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�านึงถึงผล พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและ
ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�านั้นๆ อย่างรอบคอบ ความระมัดระวังในการปฏิบัติ
๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย
ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และ
โดยค�านึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�าเนินชีวิต
{ 5 }