Page 47 - E-Book คู่มือการปฏิบัติงานล่าม เพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
P. 47
การใช้แรงงานหรือบริการอาจจะเป็นความผิดเกี่ยวกับการ
ค้ามนุษย์นั้น หากปรากฏว่า
1. บุคคลนั้นถูกหลอกลวง กระทำาการงานดังกล่าวด้วย
ความยินยอม แต่กระทำาเพราะถูกหลอกลวงปกปิดข้อเท็จจริง หรือมีการให้เงิน
หรือผลประโยชน์แก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล
2. ก�รกระทำ�ก�รง�นนั้นเกิดขึ้นจ�กก�รถูกบังคับข่มขืนใจ
ทำาให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือ
ทรัพย์สิน เช่น การข่มขู่ว่าถ้าไม่ทำางานจะทำาร้ายร่างกายของผู้เสียหาย
หรือครอบครัว หรือญาติ หรือการข่มขู่ว่าจะแจ้งต่อเจ้าหน้าที่
3. แม้ผู้เสียห�ยได้กระทำ�ก�รง�นแต่ไม่ได้เกิดจ�กคว�มสมัครใจ
โดยแท้ หากแต่เป็นการทำางานโดยจำายอมเนื่องจากไม่จ่ายค่าจ้างเป็นระยะ
เวลานาน การยึดเอกสารประจำาตัว ถูกนำาภาระหนี้สินมาผูกมัด เป็นต้น
ในการจ้างแรงงานนั้น ไม่ใช่ว่านายจ้างจะมีสิทธิในการควบคุม
ลูกจ้างถึงขนาดจำากัดบริเวณ จนทำาให้ลูกจ้างปราศจากเสรีภาพ หรือแม้กระทั่ง
กักขัง หากลูกจ้างไปไหนมาไหนต้องมีคนควบคุมติดตาม ไม่ว่าจะเป็นการ
ควบคุมด้วยตนเอง หรือให้บุคคลอื่นควบคุมแทน และนายจ้างไม่มีสิทธิ
ลงโทษต่อเนื้อตัวร่างกายของลูกจ้างได้ หากนายจ้างกระทำาการควบคุม
ถึงขนาดลูกจ้างต้องปราศจากเสรีภาพขาดอิสระ หรือมีการลงโทษต่อเนื้อตัว
ร่างกายแล้ว ย่อมถือได้ว่าเป็นการใช้แรงงานที่เกินกว่ากรอบที่กฎหมาย
ให้สิทธิไว้ แม้ว่าลูกจ้างจะมีสิทธิดูโทรทัศน์หรือได้รับการดูแลรักษาเมื่อ
เจ็บป่วย หรือการเลือกซื้ออาหารปรุงรับประทานเอง หรือการได้รับ
ค่าตอบแทนในการทำางาน ไม่ทำาให้การกักขังหรือควบคุมที่ปฏิบัติต่อผู้เสียหาย
อันเป็นผิดอยู่แล้วกลายเป็นไม่ผิดได้ เพราะตราบใดที่บุคคลไปไหนมาไหน
ไม่ได้ตามชอบใจ แม้จะอยู่ดีกินดีเพียงใด ให้ถือว่าบุคคลนั้นถูกกระทำาให้
คู่มือการปฏิบัติงานล่ามเพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 45