Page 45 - E-Book คู่มือการปฏิบัติงานล่าม เพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
P. 45

ผู้เสียหายรู้สึกอย่างไรบ้าง


             •  คว�มกลัว ในสถานการณ์การค้ามนุษย์ ผู้เสียหายกลัวหลายอย่าง เช่น
               กลัวถูกทำาร้าย กลัวถูกฆ่า กลัวถูกตำารวจจับ กลัวคนที่ตนรักถูกทำาร้าย

               หรือเป็นอันตราย
             •  คว�มอ�ย ผู้เสียหายจากทุกวัฒนธรรมและทั้งในกรณีทางเพศหรือ

               การใช้แรงงานอาจจะละอายในสิ่งที่ตนถูกบังคับในทำา และอาจตำาหนิ
               และโทษตัวเองในสิ่งที่เกิดขึ้นจนเกิดการดูถูกและไม่เห็นคุณค่าของตัวเอง

             •  ก�รโทษตัวเอง ผู้เสียหายอาจตำาหนิและโทษตัวเองที่ต้องมาตกอยู่ใน
               สถานการณ์ที่ตนไม่สามารถทำาอะไรได้ ผู้ค้ามนุษย์มักจะยำ้าให้ผู้เสียหาย

               เกิดความคิดโทษตัวเองเช่นนี้ จนเป็นเหตุให้ผู้เสียหายไม่ให้การเอาผิด
               ผู้ค้ามนุษย์

             •  คว�มรู้สึกผูกพันกับผู้ค้�มนุษย์ที่เกิดจ�กคว�มรุนแรง ในหลายกรณี
               ของการค้ามนุษย์ ผู้เสียหายมีอาการผูกพันกับผู้ค้ามนุษย์จากการ

               ถูกใช้กำาลังและทำาร้ายจิตใจ (อาการที่เรียกว่า สตอกโฮล์มซินโดรม
               Stockholm Syndrome)

             •  คว�มไม่ไว้ใจเจ้�หน้�ที่ของรัฐ ในหลายกรณี ผู้ค้ามนุษย์โน้มน้าวให้
               ผู้เสียหายไม่ไว้ใจตำารวจและเจ้าหน้าที่รัฐหรือองค์กรช่วยเหลือ ผู้เสียหายเอง

               อาจเคยมีประสบการณ์ที่ไม่ดีกับระบบงานราชการ ซึ่งจะมีผลต่อ
               ความไว้ใจเจ้าหน้าที่ด้วย

             •  อ�ก�รบอบชำ้�ท�งใจ/บ�ดแผลท�งใจ ผู้เสียหายจำานวนมากถูกกระทำา
               ทารุณจนเกิดบาดแผลในใจ ซึ่งบาดแผลในใจนี้จะทำาให้เกิดอาการ
               เหม่อลอย ซึมเศร้า วิตกกังวล จนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำาวัน










                        คู่มือการปฏิบัติงานล่ามเพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์  43
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50