Page 6 - A Neurofuzzy Network and Its Application to Machine Health Monitoring
P. 6

6


               5.2 ผลการพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพหลักสูตร      ตารางที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมจากการ
               ฝึกอบรมนักฝึกอบรมตามรูปแบบการฝึกอบรมบุคลากร                    นำหลักสูตรฝึกอบรมไปใช้จริง (N=20)
               ทางศึกษาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
                   ประกอบด้วย 5 หัวข้อเรื่องตามองค์ประกอบของ
               รูปแบบที่พัฒนาขึ้น คือ 1) การวิเคราะห์ความต้องการ
               จำเป็นของการฝึกอบรม 2) การออกแบบการฝึกอบรม
               ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 3) การทดลองใช้หลักสูตร
               ฝึกอบรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4) การนำหลักสูตร
               ฝึกอบรมที่ได้ไปใช้จริง 5) การประเมินผลการฝึกอบรม
               ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในแต่ละหัวข้อเรื่อง
               ประกอบไปด้วยจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม คู่มือ
               แบบฝึกหัด ใบเฉลยแบบฝึกหัด ใบงาน ใบประเมินผล
               งาน ใบสื่อ ใบแบบทดสอบพร้อมใบเฉลย
                    ผลการประเมินประสิทธิภาพหลักสูตรฝึกอบรมการ
               บริหารหลักสูตร โดยการประยุกต์ใช้แบบจำลองซิปป์        จากตารางที่ 1 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของผู้เข้ารับการ
               ได้ผลดังนี้                                      ฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 20 คน ด้านทฤษฎี มีค่า
                    1) การประเมินสภาวะแวดล้อม พบว่า มีความ      คะแนนเฉลี่ยร้อยละ E  / E  = 87.55/87.76 และด้าน
                                                                                     2
                                                                                 1
               เหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และค่าความสอดคล้อง   การปฏิบัติมีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 87.04 ซึ่งสูงกว่า
               ระหว่างหัวข้อเรื่องกับหลักสูตรมีความสอดคล้องทุก  เกณฑ์ที่กำหนดไว้คือร้อยละ 80/80และ ร้อยละ 75
               หัวข้อเรื่อง                                     ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
                    2) การประเมินปัจจัยเบื้องต้น โดยการประเมิน  พบว่าในภาพรวมมีค่าเฉลี่ย 4.92 อยู่ในระดับมากที่สุด
               ความสอดคล้องระหว่างหัวข้อเรื่อง เนื้อหา แบบทดสอบ      4) การประเมินผลผลิต โดยการติดตามและ
               สื่อการสอน วิธีการสอน กับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม  ประเมินผลการนำความรู้และทักษะที่ได้รับจากการ
               พบว่า มีความสอดคล้องทุกรายการ ผลการประเมิน       ฝึกอบรม จากผู้บังคับบัญชาและความพึงพอใจของครู
               ความเหมาะสมของแบบประเมินผลงานของผู้เข้ารับการ    ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจในภาพรวม
               ฝึกอบรมอบรม พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด    มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.48 และ 4.45 อยู่ในระดับมาก
               ผลการประเมินความเหมาะสมของแบบประเมินความ
               พึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม พบว่าในภาพรวมอยู่ใน  6.  สรุปและอภิปรายผลการวิจัย
               ระดับมากที่สุด ผลการประเมินค่าความสอดคล้อง            6.1 การพัฒนาและประเมินความเหมาะสมของ
               รายการติดตามผลฉบับผู้บริหารและฉบับครูผู้สอน      รูปแบบการฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาด้วยระบบ
               พบว่ามีความสอดคล้องทุกรายการ ความเชื่อมั่นของ    อิเล็กทรอนิกส์
               แบบทดสอบมีค่าความเชื่อมั่นที่ระดับปานกลางถึงสูง            พัฒนาขึ้นโดยประยุกต์แนวคิด ทฤษฎี จาก
               และผลการทดลองใช้หลักสูตรคะแนนผลสัมฤทธิ์          การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการ
               ภาคทฤษฎีมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 80.17/83.32 ซึ่งสูงกว่า  พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การ
               เกณฑ์ที่กำหนดไว้คือร้อยละ 80/80                  วิเคราะห์อาชีพ การวิเคราะห์งาน และการพัฒนา
                    3) การประเมินกระบวนการ โดยประเมินผลสัมฤทธิ์  หลักสูตรฝึกอบรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนำมา
               ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรฝึกอบรมการบริหาร  เป็นแนวทางกำหนดรูปแบบการฝึกอบรมบุคลากร
               หลักสูตรฯ จากการนำหลักสูตรไปใช้จริง              ทางการศึกษาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 5
               (Implementation) ได้ผลดังตารางที่ 1              ขั้นตอน เริ่มที่ขั้นตอนที่ 1 คือ การวิเคราะห์ความ
                                                                ต้องการจำเป็นของการฝึกอบรม (Performance
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10