Page 8 - A Neurofuzzy Network and Its Application to Machine Health Monitoring
P. 8
8
ศาสตร์สาขาวิชานั้น ๆ เนื้อหาวิชาเป็นรายละเอียดที่ สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น มีการกำหนด
นำมาถ่ายทอดให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้มีคุณสมบัติ เป้าหมายที่ชัดเจน รวมทั้งรายละเอียดของหลักสูตรจะ
ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรโดยได้ดำเนินการตั้งแต่การ ประกอบด้วย 4 ส่วน ซึ่งทั้ง 4 ส่วนนี้ จะมีความสัมพันธ์
วิเคราะห์หัวข้อเรื่องการเลือกเนื้อหาสาระและ ซึ่งกันและกัน ดังนี้ 1) เนื้อหา 2) สื่อ 3) กิจกรรม4)
ประสบการณ์การจัดเรียงลำดับ เนื้อหาสาระ และการ การประเมินผล การที่หลักสูตรมีประสิทธิภาพ อาจ
กำหนดเวลาในการฝึกอบรมที่เหมาะสม 3) การนำ เนื่องมาจากการออกแบบหลักสูตรฝึกอบรม โดยได้
หลักสูตรฝึกอบรมไปใช้ เป็นการแปลงหลักสูตรไปสู่การ ศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการจำเป็นในการ
ฝึกอบรมซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ฝึกอบรมก่อนการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม และใช้
การจัดทำวัสดุหลักสูตร อาทิเช่น หลักสูตรฝึกอบรม หลักการทฤษฎีการวิเคราะห์หัวข้อเรื่อง เพื่อนำไปใช้ใน
เอกสารประกอบการฝึกอบรม แผนการฝึกอบรม สื่อ การกำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมให้ชัดเจน แล้วจึง
ประกอบ การฝึกอบรมใบประเมินผลการเรียนรู้ 4) การ ใช้วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่วิเคราะห์ได้ไปสร้างใบ
ประเมินผลเป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงการฝึกอบรม เนื้อหาหรือเอกสารประกอบการบรรยาย โดยใบเนื้อหา
และประเมินผลว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ทักษะ จะใช้รูปภาพประกอบเพื่อให้ศึกษาได้ง่ายขึ้น สร้างใบ
เจตคติและคุณสมบัติตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ปฏิบัติงาน สร้างใบแบบฝึกหัดและ แบบทดสอบเพื่อวัด
หรือไม่รวมทั้งการจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม และประเมินผลผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามระดับ
ครั้งนี้ได้เน้นหลักการบูรณาการเนื้อหาที่ให้ความรู้ ทั้ง แต่ละวัตถุประสงค์ที่วิเคราะห์ไว้ แล้วนำให้ผู้เชี่ยวชาญ
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มีการกำหนดกิจกรรมให้ผู้ ประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้อง
เข้ารับการฝึกอบรมได้ฝึกทักษะด้วยการปฏิบัติจริง ทุก ของหลักสูตร อีกทั้งมีการสร้างสื่อโดยโปรแกรม
หัวข้อเรื่องฝึกอบรมอีกทั้งมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ สำเร็จรูป Microsoft Power Point ทาง Web Site และ
สอดคล้องกับความต้องการของผู้เข้ารับการฝึกอบรม สื่อทางอินเตอร์เน็ต เพื่อการนำเสนอให้น่าสนใจและ
นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการ เหมาะสม การประเมินผลผลิต (Product) ได้ผล
พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมของ Somjai [6] โดยกำหนด การประเมินความพึงพอใจนักฝึกอบรม ของผู้เข้ารับ
องค์ประกอบของหลักสูตรฝึกอบรมไว้เป็นแนวทาง การฝึกอบรมต่อการจัดฝึกอบรมด้วยหลักสูตรฝึกอบรม
เดียวกัน คือ มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาและความ มีความพึงพอใจมากที่สุด รวมถึงผลการประเมินความ
ต้องการจำเป็น มีการกำหนดวัตถุประสงค์ของการ พึงพอใจต่อการ นำความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากการ
ฝึกอบรมเนื้อหากิจกรรมการฝึกอบรม สื่อประกอบการ อบรมไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรฯ ของผู้บังคับบัญชา
ฝึกอบรมและการประเมินผลการฝึกอบรม จึงทำให้ และครูที่เป็นผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจมาก
หลักสูตรฝึกอบรมมีความเหมาะสมและสามารถนำไปใช้ ทั้งนี้ เนื่องจากหลังจากได้รับการฝึกอบรมนักฝึกอบรม
ได้จริง การประเมินกระบวนการ (Process) จากการ ที่เป็นผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ความรู้ และทักษะใน
วิเคราะห์ข้อมูลการนำหลักสูตรฝึกอบรมที่ผ่านการ การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมด้วยระบบ
ประเมินจากผู้เชี่ยวชาญและ ผ่านกระบวนการทดลองใช้ อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มมากขึ้น โดยนักฝึกอบรมเปิดโอกาส
หลักสูตรไปใช้ฝึกอบรมจริง พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสอบถามและตอบปัญหา
หลักสูตรฝึกอบรมด้านทฤษฎีมีผลสัมฤทธิ์ของคะแนน ข้อคำถามได้ชัดเจน สื่อที่ใช้ในการฝึกอบรม
เฉลี่ยร้อยละ E / E = 87.55/87.76 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ มีความเหมาะสมกับเนื้อหา ซึ่งสอดคล้องกับ
2
1
กำหนดไว้คือ 80/80 และ มีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละด้าน Nutchanart [8] ได้ทำการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบ
ปฏิบัติเท่ากับ 87.04 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ e-Training สำหรับบุคลากรสถาบันอุดมศึกษา
ร้อยละ 75 สอดคล้องกับงานวิจัยของ Noppasorn [7] ผลการวิจัยพบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นว่ารูปแบบ
ที่ได้กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง e-Training ที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ
กว่าเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเกิดจากการ มาก และเมื่อนำรูปแบบ e-Training ที่พัฒนาขึ้นไป
พัฒนาหลักสูตรที่เป็นระบบและต่อเนื่องผ่าน การ ทดลองใช้พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามรูปแบบ
ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญมีข้อมูลพื้นฐานในด้าน e-Training มีผลสัมฤทธิ์ในการฝึกอบรมหลังจาก