Page 7 - A Neurofuzzy Network and Its Application to Machine Health Monitoring
P. 7
7
Analysis) ขั้นตอนที่ 2 คือ การออกแบบหลักสูตร นักฝึกอบรมตามรูปแบบการฝึกอบรมบุคลากรทางการ
ฝึกอบรม (Design) ขั้นตอนที่ 3 คือ การนำหลักสูตร ศึกษาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ พบว่า มีประสิทธิภาพได้
ฝึกอบรมที่ได้ออกแบบไว้ไปทดลองใช้ (Development) ตามสมมุติฐานของการวิจัย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะในการ
ขั้นตอนที่ 4 คือ การนำหลักสูตรที่ได้ทดลองใช้และ พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ผู้วิจัย มีการศึกษาสภาพ
ปรับปรุงแก้ไขไปใช้ฝึกอบรมจริง (Implementation) ปัจจุบันและความต้องการจำเป็นในการฝึกอบรม
และขั้นตอนที่ 5 คือ การประเมินผลหลักสูตรฝึกอบรม เกี่ยวกับการจัดการฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาจาก
(Evaluation) ซึ่งผลการประเมินความเหมาะสมของ รองผู้บริหารสถานศึกษาและหัวหน้าฝ่ายของ
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรฯ มีความเหมาะสม อยู่ใน สถานศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นผู้ดำเนินการ
ระดับมากที่สุด ทั้งนี้ อาจเนื่องจากในการพัฒนารูปแบบ การจัดฝึกอบรม สัมนาโดยตรง สอดคล้องกับ Suwimol
การฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาด้วยระบบ [4] ที่ว่า จุดมุ่งหมายของการประเมินความต้องการ
อิเล็กทรอนิกส์ มีกระบวนการพัฒนาที่ชัดเจน ตั้งแต่ จำเป็น คือ ความพยายามให้ได้ข้อมูลที่ช่วยเสริมการวาง
การศึกษาเอกสาร ตำรา บทความทางวิชาการ แผนการดำเนินงาน ทำให้การพัฒนากิจกรรมหรือการ
และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อสังเคราะห์ข้อมูล แก้ปัญหาต่าง ๆ สอดคล้องกับสภาพที่เกิดขึ้นจริง เมื่อ
และนำไปใช้ในการศึกษาสภาพปัจจุบันและความ นำหลักสูตรฝึกอบรมไปใช้ ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ต้องการหลักสูตรฝึกอบรมนักฝึกอบรมตามรูปแบบการ สามารถสรุปองค์ความรู้และนำไปใช้ในสภาพจริงได้
ฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาด้วยระบบ หลังจากนั้นแล้วนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ หัวข้อ
อิเล็กทรอนิกส์จากกลุ่มเป้าหมาย หลังจากนั้น เรื่อง (Topic Analysis) เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์เชิง
จึงประมวลทั้งหมด เพื่อพัฒนารูปแบบการฝึกอบรม พฤติกรรม ของแต่ละหัวข้อเรื่อง เพื่อนำไปใช้ สำหรับ
บุคลากรทางการศึกษาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่แสดง การกำหนดเนื้อหา การวัดและประเมินผล สื่อ และ
ให้เห็นถึง โครงสร้าง โปรแกรมหรือแบบจำลองความจริง วิธีการฝึกอบรม และจัดทำแผนการฝึกอบรม นอกจากนี้
หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ และเพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้แบบจำลองซิปป์ (CIPP Model)
ขององค์ประกอบที่สำคัญในเรื่องการดำเนินการ ประกอบด้วย การประเมินสภาพแวดล้อม (Context)
ฝึกอบรม ซึ่งสอดคล้องกับ Pairote [3] ที่กล่าวไว้ว่า โดยให้ผู้เชี่ยวชาญทำการประเมินความเหมาะสม ซึ่ง
รูปแบบการพัฒนาที่เป็นแบบจำลอง (Model) หมายถึง พบว่า หลักสูตรฝึกอบรม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ
องค์ประกอบทั้งปวงมีความสัมพันธ์กันเพื่อนำไปสู่ มากที่สุด และแต่ละองค์ประกอบของหลักสูตรฝึกอบรม
เป้าหมายขององค์กร ประกอบด้วย เป้าหมาย ก็มีความสอดคล้องกัน การประเมินปัจจัยเบื้องต้น
วัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย กิจกรรมการดำเนินการ (Input) หัวข้อเรื่องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ทั้งภายในภายนอก ฝึกอบรม วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมกับหัวข้อเรื่อง
และยุทธวิธีของแต่ละองค์ประกอบ เนื้อหากับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม แบบทดสอบกับ
6.2 การพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพหลักสูตร วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม สื่อการสอน กับ
ฝึกอบรมนักฝึกอบรมตามรูปแบบการฝึกอบรมบุคลากร วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีสอนกับวัตถุประสงค์เชิง
ทางการศึกษาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ พฤติกรรม ทั้งนี้สอดคล้องกับ Siriluk [5] ที่ว่าการพัฒนา
ประกอบด้วย 5 หัวข้อเรื่อง ได้แก่ 1) การวิเคราะห์ หลักสูตรควรมีองค์ประกอบ 4 ประการ ดังนั้น ผู้วิจัยจึง
ความต้องการจำเป็นของการฝึกอบรม 2) การออกแบบ ได้พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมโดยคำนึงถึงองค์ประกอบดัง
การฝึกอบรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 3) การทดลองใช้ กล่าวคือ 1) การกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรเป็น
หลักสูตรฝึกอบรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4) การนำ การกำหนดว่าต้องการให้ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมเป็น
การฝึกอบรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ไปใช้จริง 5) การ อย่างไร รวมทั้งเป็นแนวทางในการเลือกเนื้อหาและ
ประเมินผลการฝึกอบรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดย กิจกรรมการฝึกอบรมว่าต้องการ ให้ผู้เข้ารับการ
ใช้เวลาในการฝึกอบรมทั้งสิ้น 5 วัน ระหว่างการ ฝึกอบรมเป็นอย่างไรต้องสอนเนื้อหาอะไรสอนใครและ
ฝึกอบรม จะประกอบด้วย ภาคทฤษฏี และ ภาคปฏิบัติ สอนทำไม 2) การกำหนดเนื้อหา เป็นส่วนที่เกี่ยวกับ
ซึ่งผลการการประเมินประสิทธิภาพหลักสูตรฝึกอบรม ความรู้และประสบการณ์ในการแสวงหาความรู้ตาม