Page 109 - รวมเลมวจยในชนเรยน 2-2562_Neat
P. 109
99
3. การสร้างแบบวัดความพึงพอใจ ด าเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
3.1 ศึกษาทฤษฎี หลักการ และประโยชน์ของแผนการเรียนรู้การจัดการ
เรียนรู้ วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ และสื่อต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการ
สร้างแบบวัดความพึงพอใจ
3.2 ก าหนดข้อความที่แสดงถึงความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ เรื่องห.ร.ม.และ ค.ร.น. ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 แบ่งเป็น 5 ระดับ โดยมีจ านวน 20 ข้อ
3.3 น าแบบสอบถามวัดความพึงพอใจเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพิจารณา
ความเหมาะสม ตลอดจนให้ค าแนะน าเพื่อปรับปรุงแก้ไข
3.4 น ามาปรับปรุงแก้ไขแล้วน าไปใช้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง
เที่ยงตรงในสิ่งที่ต้องการวัด และขอรับการประเมินความเหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม
3.5 ปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญ แล้วน าไปทดลองเพื่อหา
คุณภาพกับนักเรียนกลุ่มเดิมที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง แล้วน าคะแนนที่ได้หาค่าอ านาจจ าแนก
ด้วยวิธีหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม (Item total Correlation)
โดยใช้สูตรสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน
3.6 จัดพิมพ์ฉบับสมบูรณ์ เพื่อน าไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยด าเนินการทดลองโดยใช้แผนการเรียนรู้การทดลองแบบ One Group Pre-
test Post-test Design ดังแสดงในตาราง (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ 2538 : 249)
ตำรำง 5 แผนการเรียนรู้การทดลอง
ทดสอบก่อนเรียน กำรจัดกำรเรียนรู้ ทดสอบหลังเรียน
T 1 X T 2
1-10