Page 11 - โครงงานเผยแพร่ภูมิปัญญาย้อมสีผ้าจากมูลควายกลุ่มที่5sec02
P. 11

4







                              ต่อมาทางราชการได้สร้างทางหลวงแผ่นดินสายอุดรธานี – สกลนคร – นครพนม เส้นทางนี้
                       ได้ตัดผ่านศูนย์กลางบ้านดอนพังโคน (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 กิโลเมตรที่ 107) ซึ่งอยู่ห่างจาก
                       เมืองจัมปาชนบทไปทางทิศเหนือ ประมาณ 1 กิโลเมตร จึงได้มีบรรดาชาวเมืองจัมปาชนบท พากัน

                       อพยพบ้างเมืองมาอยู่ตามแนวสองข้างทางเรียกว่า “บ้านพังโคน” หรือบ้านดอนพังโคน” ปัจจุบันมีสี่
                       แยกทางสาย 22 ตัดกับสาย 222 และ227 ชาวบ้านเรียกสี่แยก 2 วา เนื่องจากแยกไปทางทิศเหนือ

                       คือ อ าเภอวานรนิวาส และทิศใต้ คือ อ าเภอวาริชภูมิ อ าเภอพังโคน

                              เมื่อปี พ.ศ. 2511 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งกิ่งอ าเภอพังโคน โดยแบ่งท้องที่ต าบล

                       ม่วงไข่ ต าบลพังโคน ต าบลแร่ ต าบลไฮหย่อง ต าบลต้นผึ้ง แยกจากอ าเภอพรรณนานิคม ทั้งนี้มีพ่อค้า
                       ประชาชนชาวอ าเภอพัง-โคนได้ร่วมบริจาคเงินซื้อที่ดินจ านวน 35 ไร่ ให้เป็นสถานที่ตั้งที่ว่าการอ าเภอ
                       และศูนย์ราชการกิ่งอ าเภออยู่ห่างจากสี่แยก 2 วา ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เมื่อท้องที่

                       กิ่งอ าเภอพังโคนเจริญขึ้น ทางราชการจึงมีพระราชกฤษฎีกา ยกฐานะกิ่งอ าเภอพังโคน เป็น “อ าเภอ
                       พังโคน” โดยแบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น 5 ต าบล เท่าเดิม บ้านพังโคน มีประวัติเล่ามาว่า เมื่อวัน

                       เดือนปีใดไม่ปรากฏ นครเวียงจันทน์เกิดกบฏ พวกกบฏได้ปล่อยช้างมงคลหรือพลายค ามิ่ง ตัวผู้มีงากับ
                       ช้างดอ ชื่อ มิ่งมงคล ไม่มีงา และช้างพัง ชื่อโคน รวม 3 เชื่อก ของเจ้านครเวียงจันทน์ ข้ามโขงมาฝั่ง

                       ของไทย เมืองเจ้านครเวียงจันทน์ไปปราบกบฏเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงสั่งให้บรรดาควาญช้างต้น ข้าม
                       โขงมาตามเอาช้างมิ่งมงคลที่ปล่อยมานั้นคืน ได้ติดตามมาพบช้างที่ริมหนองอีนาง เขตท้องที่อ าเภอ

                       พรรณานิคม จึงพากันจับช้างดอชื่อมิ่งมงคลที่หนองอีนางนั่นเอง

                              ส่วนอีก 2 เชือก คือพลายค ามิ่งกับพังโคนไปตามไปพบที่ดอนตูม ซึ่งอยู่กลางทุ่งนามีต้นตูม

                       ขึ้นอยู่มากใกล้กับหมู่บ้านจัมปา จึงจับพลายค ามิ่งได้ ส่วนช้างพับที่ชื่อโคนจับไม่ได้ จึงลงความเห็นว่า
                       ต้องใช้ปืนยิงที่เท้าให้เจ็บเสียก่อนจึงจะจับได้ เมื่อถูกยิงแทนที่จะจับได้กลับอาละวาดเป็นการใหญ่
                       บรรดาคราญช้างจึงลงความเห็นควรจะจับตาย จึงใช้ปืนยิงให้ตายแล้วจึงน าซากช้างพังที่ชื่อโคนมาฝัง

                       ไว้ บริเวณดอนตูมแห่งนี้แล้วจึงพากันน าช้าง 2 เชือก กลับนครเวียงจันทน์

                              ต่อมาชาวบ้านจึงพากันเรียกดอนตูมแห่งนี้ว่า “ดอนพังโคน” ตามนามของช้างที่ชื่อ ” พัง

                       โคน” และบริเวณดอนอีนางก็เรียกว่า ” บ้านช้างมิ่ง” ตามนามช้าง ตลอดจนทุกวันนี้ (ส านักงาน
                       พัฒนาชุมชนอ าเภอพังโคน, 2554)

                              ภูมิประเทศของอ ำเภอพังโคน


                              ภูมิประเทศของอ าเภอพังโคนแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ พื้นที่ทางด้านทิศเหนือจะ
                       เป็นที่ราบลุ่ม ทิศใต้เป็นที่ราบสูง โคก ดอน ทั้งหมดอยู่นอกเขตชลประทานน้ าอูน    (ส านักงาน

                       พัฒนาชุมชนอ าเภอพังโคน, 2554)

                              เขตพื้นที่


                              ทิศเหนือ ติดกับ เขต อบต.เดื่อศรีคันไชย อ าเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16