Page 12 - โครงงานเผยแพร่ภูมิปัญญาย้อมสีผ้าจากมูลควายกลุ่มที่5sec02
P. 12

5







                              ทิศใต้ ติดกับ เขต อบต.ปลาโหล อ าเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร

                              ทิศตะวันออก ติดกับ เขต อบต.ไฮหย่อง, อบต.แร่ อ าเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร

                              ทิศตะวันตก ติดกับ เขต อบต.ม่วงไข่ อ าเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร (ส านักงานพัฒนาชุมชน

                       อ าเภอพังโคน, 2554)

                              สำธำรณูปโภค


                              จ านวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ในเขต อบต. 1,787 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100.00 จ านวน
                       บ้านที่มีโทรศัพท์ 1,518 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 85.00 ของจ านวนหลังคาเรือน (ส านักงาน

                       พัฒนาชุมชนอ าเภอพังโคน, 2554)

                              กำรเดินทำง


                              การเดินทางเข้าสู่หมู่บ้าน โดยรถยนต์ รถสามล้อรับจ้าง รถจักรยานยนต์ มีถนนลาดยาง และ
                       ถนนลูกรังติดต่อภายในหมู่บ้านต าบล การเดินทางมี 4 เส้นทาง คือ 1. จากจังหวัดอุดรธานี ใช้ถนน
                       เลี่ยงเมือง ระยะทาง 106 กิโลเมตร 2. จากสกลนคร ใช้ถนนเลี่ยงเมือง ระยะทาง 56 กิโลเมตร 3.

                       จากอ าเภอวาริชภูมิ ระยะทาง 16 กิโลเมตร 4. จากอ าเภอวานรนิวาส ระยะทาง 28 กิโลเมตร
                       (ส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอพังโคน, 2554)


                              เศรษฐกิจเขตอ ำเภอพังโคน

                                      เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจตอนกลางของจังหวัดสกลนคร อ าเภอที่อยู่ใกล้เคียง คือ อ.

                       วาริชภูมิ อ.วานรนิวาส อ.นิคมน้ าอูน และ อ.อากาศอ านวย  พืชเศรษฐกิจของจังหวัดสกลนครที่ส าคัญ
                       ได้แก่ ข้าวมีเนื้อที่เพาะปลูกจ านวน 1,946,620 ไร่ ผลิตได้ 837,398 ตัน อ้อย มีเนื้อที่เพาะปลูก

                       จ านวน 69,033 ไร่ ผลิตได้ 829,565 ตัน มันส าปะหลัง มีเนื้อที่เพาะปลูกจ านวน 46,142 ไร่ ผลิตได้
                       128,118 ตัน (ชิตตรา นารักษ์, 2559)

                              แนวคิดและทฤษฎี



                              ทฤษฎีของบลูม


                       Bloom’s Taxonomy กล่าวถึงการจ าแนกการเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม ซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ
                       ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย โดยในแต่ละด้านจะมีการจ าแนกระดับความสามารถ
                       จากต่ าสุดไปถึงสูงสุด เช่น ด้านพุทธิพิสัย เริ่มจากความรู้ ความเข้าใจ การน าไปใช้ การวิเคราะห์ การ

                       สังเคราะห์ การประเมิน นอกจากนี้ยังน าเสนอระดับความสามารถที่มีการปรับปรุงใหม่ตามแนวคิด
                       ของ Anderson and Krathwohl (2001) เป็น การจ า(Remembering) การเข้าใจ(Understanding)
                       การประยุกต์ใช้(Applying) การวิเคราะห์ (Analysing) การประเมินผล (Evaluating) และการ

                       สร้างสรรค์ (Creating) ด้านจิตพิสัย จ าแนกเป็น การรับรู้, การตอบสนอง, การสร้างค่านิยม, การ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17