Page 31 - ED 211
P. 31

อยู่เป็นประจ ามีการท าซาวลวงแล้ว  การร่วมกันท าซาวลวงจึงเป็นการตอกย้ าส านึกแห่งความร่วมมือกันใน

                   การจับปลา

                               ความรู้ในการหาปลาจะถูกถ่ายทอดสู่ลูกหลานเพื่อให้เรียนรู้“การหาอยู่หากิน”  ด้วยการ
                   ช่วยพ่อแม่จับปลาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก  แม่น้ ามูนจึงไม่เพียงเป็นแหล่งสร้างความรู้เพื่อตอบสนองชีวิตของ

                   ชาวบ้านเท่านั้น  หากแต่ยังเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อสืบทอดความรู้ที่ถูกสร้างขึ้นด้วย


                   วิถีชีวิตที่เชื่อมโยงกับธรรมชาติและสภาพแวดล้อมทางสังคม

                               ก่อนที่ความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่จะเข้าสู่ชุมชนนั้น  คนในชุมชนชนบทด ารงชีวิตผูกพัน

                   อยู่กับธรรมชาติ  ธรรมชาติจึงเป็นทั้งแหล่งท ามาหากินและแหล่งเรียนรู้  แต่เนื่องจากสภาพแวดล้อมทาง

                   ธรรมชาติอันเป็นพื้นที่ตั้งของชุมชนมีความแตกต่างกัน  อาทิ  บางชุมชนอยู่บนที่สูง  พื้นที่ดอย  พื้นที่โคก
                   พื้นที่ราบ  พื้นที่ลุ่ม  พื้นที่ท ากินมีทั้งที่อุดมสมบูรณ์และแห้งแล้ง  อยู่ใกล้หรือไกลจากแหล่งน้ า  เป็นต้น

                   ท าให้ชุมชนแต่ละแห่งมีทุนทางธรรมชาติซึ่งมีส่วนส าคัญในการก าหนดวิถีการท ามาหากิน  และการสะสม

                   ความรู้แตกต่างกัน  ท าให้วิถีชีวิตของชุมชนมีความแตกต่างกัน  ดังเช่นชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตป่าซึ่ง
                   เป็นที่ดอน  (พรใจ ลี่ทองอิน.  2546)  และชุมชนที่ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ริมสองฝั่งของแม่น้ ามูน  (พรใจ ลี่ทอง

                   อิน.  2545)

                               บ้านดอนแก้วเป็นชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตป่าในเขตภาคเหนือตอนบน  เป็นพื้นที่ดอน
                   สูงกว่าบริเวณหมู่บ้านอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกัน  จึงเป็นพื้นที่ที่มีการตั้งถิ่นฐานช้ากว่าบริเวณที่ราบ  หลังจาก

                   ชาวบ้านที่มาพักแรมชั่วคราวเพื่อเลี้ยงวัวควายได้ตั้งบ้านเรือนอย่างถาวรอยู่ในบริเวณนี้แล้ว จึงมีคนจาก

                   หมู่บ้านอื่น ๆ อพยพเข้ามาอยู่   โดยจับจองที่ดินที่ว่างเปล่าเพื่อปลูกบ้าน  ส่วนการท านายังคงท ากิน
                   บริเวณเดิม  เนื่องจากไม่มีที่ดินว่างเปล่าซึ่งสามารถบุกเบิกเป็นที่นาเหลือให้จับจองได้อีกแล้ว  มีทั้งอพยพ

                   เข้ามาเป็นครอบครัวและเป็นกลุ่มครั้งละหลายครอบครัวซึ่งโดยส่วนใหญ่มักเป็นญาติพี่น้องและเพื่อนสนิท

                   กรณีอพยพเข้ามาเป็นกลุ่ม มักจับจองที่ดินผืนใหญ่แล้วแบ่งที่ดินดังกล่าวให้กับสมาชิกในกลุ่มโดยแบ่งที่ดิน
                   ออกเป็นแปลงเล็ก ๆ จากนั้นจึงใช้วิธีการจับฉลากเป็นวิธีในการเลือกแปลง   การอพยพในลักษณะเช่นนี้

                   ท าให้ญาติพี่น้องหรือเพื่อนสนิทตั้งบ้านเรือนอยู่ใกล้เคียงหรือละแวกเดียวกันเช่นเดิม  ซึ่งเป็นสิ่งที่จ าเป็น

                   ต่อการด ารงชีวิตในบ้านป่า  ที่เต็มไปด้วยภยันตราย  ทั้งจากโจรผู้ร้าย  สัตว์ป่านานาชนิด  และไข้มาเลเรีย
                   การพึ่งพาอาศัยและแบ่งปันกันด ารงอยู่ในทุกมิติของการด าเนินชีวิต  เพราะนอกจากการอพยพโยกย้าย

                   ร่วมกันเป็นกลุ่มเพื่อเป็นหลักประกันความมั่นคงปลอดภัยในการด ารงชีวิตด้วยการตั้งบ้านเรือนอยู่ใกล้เคียง

                   กันแล้ว  การเข้าถึงปัจจัยการผลิตโดยเฉพาะการจับจองที่ไร่เพื่อปลูกข้าว  การสร้างและปรับปรุงเหมือง
                   ฝายก็ด าเนินไปบนฐานคิดของการพึ่งพาอาศัยและแบ่งปันกันท านองเดียวกับการล่าสัตว์และการสร้างบ้าน

                   การที่ชุมชนมีจุดตั้งอยู่ในหุบเขาขนาดเล็ก  ที่ราบที่สามารถบุกเบิกเป็นที่นาได้จึงมีจ ากัด  กอปรกับพื้นที่

                   ใกล้เคียงมีการตั้งถิ่นฐานถาวรเป็นชุมชนมาก่อน  ท าให้ไม่มีที่ราบรอบหมู่บ้านที่สามารถบุกเบิกเป็นที่นา





                                                       เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 25
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36